Вы находитесь на странице: 1из 8

My Story

เริ่มต้นชีวิตมหาวิทยาลัย

• ตอนเรียนที่มหาลัย ในปีแรก ผมเป็นนักกีฬาแบดมินตันของมหาลัยและคณะ ต้องซ้อมและไปแข่งขันประมาณ 3-4


รายการในปีนั้น นอกจากนี้ ผมก็เป็น tutor, mentor และ speaker ให้กับรุ่นน้องที่โรงเรียนบางมด ในฐานะที่
สอบได้วิศวะ จุฬา คนแรกของโรงเรียน และเป็นรองประธานชมรมศิษย์เก่าของโรงเรียน ซึง่ มีหน้าที่จัดกิจกรรม เพื่อหา
ทุนช่วยเหลือให้กับโรงเรียน (โรงเรียนผมเป็นโรงเรียนเล็กๆ ซึ่งมีงบประมาณค่อนข้างน้อย เด็กส่วนใหญ่ก็มีฐานะไม่ค่อย
ดีนัก) เวลาส่วนใหญ่ในปี 1 ผมได้ใช้ไปกับกิจกรรมพวกนี้

กับตำาแหน่งแรกที่จุฬาฯ

• พอปี 2 ผมได้รับเลือกให้เป็น President of Badminton Club ของจุฬา มีหน้าที่เป็นตัวแทนของมหาลัย


จัดการแข่งขัน ทั้งภายใน ประมาณ 2-3 รายการต่อปี และภายนอกอีกประมาณ 3-4 รายการ ต่อปี ที่สำาคัญที่สุดก็คือ
เป็นประธานจัดการแข่งขัน Badminton Gear Games ซึง่ เป็นการแข่งขันของนักเรียนวิศวะ จากมหาวิทยาลัย
ทั่วประเทศ ซึง่ จัด 2 ปีครัง้ ใช้เวลาแข่งประมาณ 1 อาทิตย์ ซึง่ จะเริ่มขึ้นหลังจากได้เป็นประธานชมรมแบด ของจุฬาฯ
อีกไม่ถึง 2 เดือน การจัดการแข่งขันมีที่โรงยิมของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (เพราะว่า มีสถานที่ที่พร้อมกว่าโรงยิมของ
จุฬาฯ) ซึง่ เป็นงานแรกของผมสำาหรับการเป็นประธานชมรมแบดของจุฬาฯ ผมได้ทำางานกับคนที่ไม่ ได้อยู่ในชมรมแบด
ของจุฬาฯ ไม่ได้รู้จกั กันมาก่อน บางคนก็โตกว่า อยู่ปี 4 ส่วนผมตอนนั้นอยู่ปี 2 และต้องเป็นคนที่ lead ทีมงาน
ประมาณ 70-80 คน ที่มาจากทั้งในกรุงเทพฯ และต่างจังหวัด เช่นมหาลัยขอนแก่น, มหาลัยเชียงใหม่, ABAC,
มหาวิทยาลัยกรุงเทพฯ, KMITNB, KMUTT, เกษตรศาสตร์, มหาลัยบูรพา, มหาลัยสงขลา ฯลฯ เพื่อให้การ
แข่งขันผ่านไปได้ด้วยดี ซึ่งงานนี้ถือว่าประสบความสำาเร็จในระดับหนึ่ง ตามที่มหาลัย อาจารย์ และรุ่นพี่ๆ คาดหวังเอาไว้
แต่ก็โดนด comment เยอะเช่นกัน เช่น กำาหนดการที่ไม่ตรง สถานที่จัดการแข่งขันหายาก ประชาสัมพันธ์ไม่ค่อยทั่ว
ถึง แต่ว่าก็ได้รับบทเรียนที่ดี สำาหรับงานนี้ เพราะว่าได้ฝึก leadership skill และ management skill กับ
คนจำานวนมาก เรียนรู้ interpersonal skill กับคนหลายๆ background อุปสรรคส่วนใหญ่จะเป็นเรื่องของ
seniority ซึ่งผมถือว่าเด็กมาก เมื่อเทียบกับคนที่ทำางานด้วยกัน แต่ว่าผมพยายามจะสร้าง relationship ที่ดี กับ
ทีมงาน สร้างบรรยากาศของ teamwork และ unity ซึ่งเป็นเอกลักษณ์ของเด็กวิศวะ เราทำางานกันแบบพี่น้อง ไม่
สนใจว่าใครจะเป็นประธาน รองประธาน หัวหน้าหรือ staff เพราะว่าทุกคนมีความสำาคัญเท่ากันหมด เป็นเหมือนฟัน
เฟืองของเกียร์ ที่จะขับเคลื่อนงานให้สำาเร็จ ซึ่งแม้งานจะต้องทำาให้เสร็จ และพร้อมสำาหรับการแข่งขันในเวลาสั้นๆ แต่
สุดท้ายก็ได้ผล ทุกคนมี relationship ที่ดีต่อกัน ทำาให้งานทุกอย่างผ่านไปได้ด้วยดี
• นอกจากนี้ งานที่สำาคัญอีกอย่างนึง ก็คือต้องทำาให้กีฬาแบด popular มากขึ้นในมหาลัย ซึง่ ถือว่ายากเพราะว่า เด็กจุฬา
ส่วนใหญ่ จะใช้เวลาไปกับการอ่านหนังสือ และกิจกรรมอย่างอื่น ผมและทีมงานก็ได้คิดวิธีดึงดูดความสนใจของ
นักศึกษาวิธีใหม่ๆ ด้วยการไปติดต่อกับคอร์ทแบดใกล้ๆ ให้มี promotion ลด 20-30% สำาหรับเด็กจุฬาฯ (เพราะ
ว่า ในขณะนั้น จุฬา มีคอร์ทแบดเพียงแค่ 4 คอร์ท ซึ่งไม่พอกับความต้องการของนิสิต นักศึกษาที่สนใจ และการออกไป
เช่าคอร์ทข้างนอก ก็ค่อนข้างแพง ก็เลยต้องหาคอร์ทเพิ่มเติม ที่ราคานักศึกษาสามารถจ่ายได้) และก็ ให้มีนักกีฬาระดับ
ทีมชาติ หรืออดีตเยาวชนทีมชาติ ซึ่งเป็นเพื่อนๆ ของผมเอง ให้มาทำาการสอนแบด ให้กับคนที่สนใจ ซึ่งก็ได้รับการตอบ
รับที่ดี มีคนเล่นแบดมินตันมากขึ้นกว่า 30%

นอกเหนือจากชีวิตการเป็นนิสิตวิศวะฯ ไฟฟ้า

• นอกจากการเป็นประธานชมรมแบดแล้ว ผมก็ยังได้ทำากิจกรรมอื่นๆ ด้วย เช่น เป็น รองประธานฝ่ายการเงินของชมรม


วิศวะ ไฟฟ้า ของจุฬา ซึ่งมีหน้าที่คอยขอ sponsor ให้กับชมรม ซึ่งช่วงหลังๆ เศรษฐกิจเริ่มไม่ค่อยดี sponsor ให้
เงินน้อยลง ผมและเพื่อนๆ จึงต้องคิดวิธีใหม่ๆ ในการระดมทุนเพื่อหาเงินมาทำากิจกรรมต่างๆ ของชมรม เช่นขายเสื้อ
สมุด หนังสือ ในงานสัปดาห์วิชาการ ทำาของที่ระลึกขายในวันลอยกระทง รวมถึงคอยควบคุมค่าใช้จ่ายและรายรับ ของ
ชมรมไฟฟ้า นอกจากนี้ก็ทำาพวก Electrical Engineering Camp ให้กับเด็ก ม. ปลาย ที่สนใจอยากจะเรียนรู้
ว่า วิศวะไฟฟ้า เค้าเรียนอะไรกันบ้าง และจบออกมาทำางานอะไร โดยค่ายจะจัดปีละครั้ง ประมาณ 4 วัน นอกจากนี้ก็ทำา
กิจกรรมเพื่อสังคมเช่นการออกค่ายสอนหนังสือให้กับน้องๆ ในโรงเรียนต่างๆ ด้วย

ผลการเรียนที่แย่ลง กับ My first business

• ช่วงเวลาในมหาลัยของผม ในปี 1-3 ส่วนใหญ่หมดไปกับการทำากิจกรรมต่างๆ การช่วย support รุ่นน้องที่ไม่มี


โอกาส ที่โรงเรียนมัธยมของผม การซ้อมแบดเพื่อแข่งขันให้กับคณะ และการทำางานในตำาแหน่งประธานชมรมแบด และ
รองประธานชมรมวิศวะไฟฟ้า ของจุฬา แล้วผมก็ยังมีธุรกิจเล็กๆ ที่เริ่มต้นเพราะความสนุกกับเพื่อนๆ

เมื่อพูดถึง My family background

• ตอนผมอายุ 13 พ่อแม่แยกทางกัน ผมอยู่กับแม่ น้องสาว และพี่เลี้ยง หลังจากนั้นไม่นาน แม่ก็เดินทางไปทำางานที่


ฮ่องกง เหลือผมอยู่กับน้องสาวและพี่เลี้ยง ด้วยความที่ตอนนั้นยังเด็ก ก็พยายามจะเรียกร้องความสนใจ โดยการทำาอะไรที่
ไม่ดี เช่น ขโมยเงินที่บ้าน หรือ โดดเรียน เงินที่ขโมยมาก็เอาไปซื้อเกมส์มาเล่น พอมาช่วงหลังๆ เริ่มทำาบ่อยขึ้นและหนัก
ขึ้น จนเคยเกือบจะถูกส่งไปอยู่โรงเรียนประจำา หลังจากทำาตัวอยู่แบบนี้อยู่ประมาณปีนึง ทำาให้แม่ร้องไห้หลายครั้ง จนมี
อยู่วันนึง แม่พูดว่า ไม่อยากจะอยู่อีกต่อไปแล้ว พอได้ยินคำาพูดนี้ก็รู้สึกผิดมากที่สุดในชีวิต ก็เลยสัญญากับตัวเองว่าไม่ทำา
แบบนั้นอีก และพยายามทำาให้พ่อแม่ภูมิใจที่สุดด้วยการเอ็นท์ติด วิศวะ จุฬา วันที่รู้ผล แม่ก็ร้องไห้อีก แต่เป็นการร้องไห้
ด้วยความดีใจ
• พอเข้ามหาลัย ในเทอมแรก ผมยังขอเงินพ่อแม่ใช้อยู่ แต่พอมาเทอมสอง หลังจากที่ได้รู้จักกับเพื่อนที่คณะ ก็มีเพื่อนใน
กลุ่มที่สนิทกัน 3 คน รวมผมก็เป็น 4 คน ผมก็คิดว่า ผมอยากจะทำาอะไรซักอย่าง เป็นธุรกิจเล็กๆ สนุกๆ เพื่อจะได้เงินมา
ใช้ หรือว่าซื้อของที่อยากได้ โดยไม่ต้องขอเงินที่บ้านใช้อกี ประกอบกับช่วงนั้น games online และพวก Play
station 2 กำาลังฮิตมากในหมู่นักเรียน นักศึกษา ผมและเพื่อนๆ อีก 3 คนก็เป็นคนที่ชอบเล่นเกมส์มากเช่นกัน ผมจึง
ชวนเพื่อนๆ มาหุ้นกัน เพื่อเปิดเป็นร้านเกมส์เล็กๆ ในห้องแถว ที่สามย่านซึ่งเป็นที่ตั้งใกล้ๆ กับมหาลัย เราลงทุนกันไป
คนละประมาณ 40,000 บาท ซึ่งถือว่าเป็นจำานวนเงินที่มากพอสมควร สำาหรับคนที่ไม่มีรายได้อย่างพวกผม ร้านเรามี
เครื่อง computer ทั้งหมด 10 เครื่อง และเครื่อง Play station 2 อีกประมาณ 10 เครื่อง (ช่วงแรกๆ เราซื้อ
computer เป็นเงินผ่อน และเอา PS2 มาจากบ้านกัน เพื่อประหยัดค่าใช้จ่ายในเดือนแรกๆ) พวกผมตั้งชื่อร้านของ
ตัวเองว่า “Sofa” ซึ่งถือว่าเป็นจุดขายของร้านเพราะว่า พวกผมเป็นร้านแรกและร้านเดียวในแถบนั้นที่ใช้เก้าอี้โซฟา ให้
ลูกค้านั่ง ซึ่งทำาให้รู้สึกสบายและไม่ปวดหลัง คนก็จะเล่นได้นานมากขึ้น รายได้ก็เพิ่มขึ้นตามไปด้วย ส่วนร้านอื่นแถวนั้น
ซึ่งตอนนั้นยังมีจำานวนไม่มาก ใช้เก้าอี้พลาสติก และส่วนใหญ่ไม่มีพนักพิง ช่วงแรกๆ กิจการดำาเนินไปได้ด้วยดี รายได้
ต่อเดือนหลังหักค่าใช้จ่าย เช่นค่าไฟ ค่าเกมส์ ค่าเช่าสถานที่ ค่าอุปกรณ์ต่างๆ แล้วเมื่อหารกับเพื่อนๆ ก็ได้คนละประมาณ
3,000-4,000 บาทต่อเดือน อาจจะไม่ได้มาก แต่ก็ภูมิใจ ซึ่งทำาให้ผมขอเงินทางบ้านใช้น้อยลง ประมาณครึ่งนึง ซึ่งที่
ผมทำากับเพื่อนๆ นี้ก็ไม่ได้บอกให้ที่บ้านรู้ เพราะว่ากลัวว่าจะโดนด่า เนื่องจากที่บ้านก็อยากให้โฟกัสเรื่องเรียนมากกว่า
ทุกเย็น พวกผมต้องผลัดกันไปเฝ้าร้านกันเอง บางทีก็ต้องโดดเรียนบางวิชา มาดูแลร้าน เพราะว่า เราไม่มีเงินพอจะจ้างคน
มาดูแล และก็หาคนที่ไว้ใจได้ยาก แต่ว่า business ของพวกผม ก็ยังไปได้ค่อนข้างดี ประมาณ 1 ปีครึง่ เราสามารถ
ถอนทุนคืนได้ หลังจากนั้นก็เริ่มมีกำาไร แต่ว่าอย่างไรก็ตาม หลังจากร้านเปิดมาได้เกือบ 2 ปี ก็เริ่มมีคู่แข่งมาเปิดที่แถว
สามย่านเพิ่มมากขึ้น มีเงินทุนมากกว่า มีเครื่องเกมส์ที่ใหม่กว่าของเรา และเปิดจนถึงเที่ยงคืน บางร้านก็ตี 2 ซึง่ พวกผมไม่
สามารถทำาแบบนั้นได้ เพราะว่าต้องเรียนไปด้วย บางร้านก็เปิดให้เด็กนักเรียนที่ยังอยู่ชั้นประถมและมัธยมเข้าร้านได้
ตั้งแต่เช้า ซึ่งจริงๆ แล้วผิดกฏหมาย แต่ว่าพวกผมไม่ได้ทำาแบบนี้น จะเปิดเฉพาะหลัง 4 โมงเย็นเท่านั้น ทำาให้รายได้และ
ลูกค้าหดหายไปเยอะ สถานการณ์ตอนนั้นร้านเหมือนปลาเล็กทีก่ ำาลังโดนปลาใหญ่กิน และช่วงที่เรียนปี 2 และ 3 เป็น
ช่วงที่หนักมาก แต่ว่าผมและเพื่อนๆ กลับมีเวลาในการเตรียมสอบน้อยกว่าคนอื่นๆ เพราะว่าต้องผลัดกันไปเฝ้าร้าน ทำาให้
เกรดช่วงนั้นตกมาก และผมเคยได้ F มาตัวนึงด้วย รายได้ที่เคยแบ่งกันเดือนละ 3000-4000 บาท ก็น้อยลง บาง
เดือนก็แทบไม่มีแบ่งเลย ทำาให้ต้องเอาเงินเก็บของแต่ละคนมาลงทุนเพิ่มขึ้น จนต่ออายุไปได้อีกประมาณ 3 เดือน ก็เริ่ม
ไม่ไหว เลยคุยกันกับเพื่อนๆ ว่า เราควรจะหยุดแค่นี้ดีกว่า เพราะเราก็สามารถถอนทุนคืนได้แล้วและถ้าฝืนทำาต่อไป ก็อาจ
จะเสียเงินไปโดยเปล่าประโยชน์มากขึ้น สุดท้ายก็เลยตัดสินใจปิดร้านในปี 2004 หลังจากเปิดมาได้ 2 ปีกว่า และก็ล้ม
เลิกความคิดที่ว่าจะหาเงินใช้เองโดยไม่พึ่งทางบ้านไปก่อนชั่วคราว และตอนนั้นก็ขึ้นปี 4 พอดี ก็เลยอยากใช้เวลาตรงนั้น
ให้กับการเรียนมากขึ้น รวมถึงการทำา senior project ด้วย เพื่ออนาคตในการสมัครงานและเรียนต่อในมหาลัยดีๆ
ซึ่งก็ทำาให้ปี 4 เกรดเฉลี่ยดีขึ้นมามาก (3.90 และ 3.67) และก็ได้รับรางวัลจากการแข่งขัน project ด้วย แต่ถึงแม้
การลงทุนทำาธุรกิจร่วมกันของผมและเพื่อนๆ จะประสบความสำาเร็จแค่เพียงช่วงสั้นๆ และสุดท้ายก็ต้องปิดไป และแม้
เกรดตอนปี 1 เทอม 2 จนถึงปี 3 จะไม่ค่อยดี แต่ผมก็ไม่เคยนึกเสียใจในสิ่งที่พวกผมได้ทำาลงไป ทั้งเรื่องของกิจกรรม
ตำาแหน่งในชมรมต่างๆ และก็ธุรกิจเล็กๆ อันแรกที่ผมกับเพื่อนๆ ช่วยกันทำา ผมเชื่อว่า ผมได้อะไรมากกว่าคนอื่นๆ และ
ก็ได้มีบทเรียนที่มีค่ากับสิ่งนี้ ผมได้เรียนรู้ความผิดหวัง ได้เรียนรู้การตัดสินใจในช่วงเวลาที่ยากลำาบาก ได้เรียนรู้ว่าการทำา
ธุรกิจยากแค่ไหน ต้องพร้อมขนาดไหน เรียนรู้การจัดการเงินทุนที่มีอยู่จำากัด และควรจะมีการวาง strategy ยังไง ผม
ไม่เคยคิดถึงเรื่องที่จะรับมือกับ market competitiveness มาก่อน ในช่วงนั้น ที่มีคนมาเปิดแข่งเยอะๆ ซึ่งบท
เรียนเหล่านี้ทำาให้ผมได้เรียนรู้ถึงความท้าทายของการทำา business และผมก็ฝันว่าอยากจะมี business ของตัวเอง
เมื่อพร้อมกว่านี้
• ทุกวันนี้ เมื่อผ่านไปแถวสามย่าน เวลาไปนั่งเล่นเกมส์กับเพื่อนๆ ก็ยังเห็นบางร้านเอาโซฟามาให้ลูกค้านั่ง ก็ยังพูดขำาๆ กับ
เพื่อนๆว่า “เฮ้ย!! นี่มันไอเดียพวกเราป่าววะ ??” (Link with optional essay of Columbia??)

My senior project and award (This one is the same story that I already sent to
you but I copy here to make it a one long-story krub)

• The story began in March 2004 when I was admitted by my professor to carry
out the project of communication network analysis and design at
Suvarnabhumi Airport, the new Thailand airport. It is one of graduation
requirements and requires project examination for all engineering students at
Chulalongkorn University.
• My team consists of four students with diverse strong engineering areas. My
role is to study network requirement and predict system enhancement, to
analyze existing design, and to propose my new design. Carefully investigate
the existing design, I had learned that designers spent too much budget for
redundant hardware and equipments and overestimated the network
enhancement. Therefore, I re-collected the data from reliable documents and
re-designed the network that spends reasonable costs and materials. Finally, I
came with the design that can be proved it is lower in cost but equal in quality
and efficiency. Besides adapting engineering theories to the real situation, I
had learned how to work in team environment, to plan project outline, and
manage the team with solid strategy. After having had worked hard throughout
one year, our project highly impressed faculty, committee, and audience in the
project examination. Although we were faced with difficult questions in Q&A
session by renowned professors, we could solve the problem on-the-spot and
give them very satisfied answers. A long journey had ended, now we
graduated in the bachelor degree.
• Anyway, our success did not stop only at the project examination. Two days
later, my advisor told me that our team was selected by the electrical
engineering department to be the representative for the project competition of
academic conference held at Chulalongkorn University. In the competition,
our project was among more than 250 impressive projects. During the
competition, all projects must be visited by a number of professors and people
from many colleges and universities. Presenting and answering hundreds of
questions, we were monitored and given scores by project committee. After
three days had passed, the next step was to face with very tough questions
from the committee. Still, we had done the good job.
• “How, if possible, does your project impact our country?” The committee
asked me the last question. I kept thinking for a while and then answered him
that if adopted by AOT (Airports of Thailand), my new design can
significantly reduce hardware, software, and maintenance costs. Needless to
say, the reduced cost would have been spent in other ways to develop our
country. By thoroughly explaining how it does, I successfully convinced them
and we had completely done our job. We then waited for the result with a little
hope that our project deserves the big success.
• “The Project of Suvarnabhumi National Airport” the speaker announced our
team as the winner and the thought that if I have had an opportunity to get it
done earlier, my project might have been implemented in our national airport
suddenly came into my head.

Work Experience (Toyota & Thomson Reuters)

Theory VS Practice

• ช่วงแรกที่เข้ามาทำางานได้ 2 เดือน ทางแผนก maintenance engineering ต้องการลด stop time ของ


assembly line ดังนั้น ผมจึงได้รับมอบหมายให้ทำาการคิดวิธีปรับปรุงการทำางานและหาวิธีป้องกันการหยุดทำางาน
(preventive maintenance) ของเครื่องจักรใน assembly line เครื่องหนึ่ง เรียกว่า Main lifter ซึ่ง
ทำาหน้าที่ ยกรถที่ประกอบเสร็จแล้วข้ามไปเข้า process ของการ test รถที่อีกฟากนึงของโรงงาน ในเครื่องจักร
lifter อันนี้ จะมี motor ขนาดใหญ่มากอยู่ตัวนึง ที่ทำาหน้าที่ขับ lifter ให้เคลื่อนที่ในแนวดิ่งโดยการยกรถทั้งคัน
ขึ้นไป หลังจากที่ผมได้เช็คประวัติการทำางานของเครื่องจักรนี้ จากข้อมูลเก่าๆ แล้วก็พบว่า เครื่องจักร lifter นี้มีปัญหา
หยุดการทำางานบ่อยที่สุด ครัง้ ละมากกว่า 30 นาที และเสียหายถึงเดือนละครั้ง เนื่องมาจากการที่ motor ตัวนี้ไหม้ ผม
จึงต้องหาวิธีทำายังไงก็ได้ ให้ motor ตัวนี้ มีอายุการใช้งานที่นานขึ้น ดังนั้น ผมจึงทำาการคำานวณการทำางานของ
motor ใหม่ โดยได้ศึกษาและคำานวณค่ากำาลังทาง electric และกำาลังทาง mechanic ของ motor ร่วมกับ
ตัวแทนจากบริษัท Daifuku จากญี่ปุ่น จากการศึกษาร่วมกัน โดยใช้ทฤษฎีทาง ไฟฟ้ากำาลังที่ได้เรียนมาจากที่จุฬา ก็ได้
ข้อสรุปที่ตรงกันว่า ควรจะใช้ motor ที่มีขนาดของกำาลังใหญ่ขึ้นกว่าเดิมจากที่ Daifuku เคย design ไว้ตอน
แรกประมาณ 20% จากนั้นเราได้ทำาการเปลี่ยน motor ใหม่และคิดว่า น่าจะทำาให้เครื่องจักรสามารถทำางานได้โดย
motor ไม่เสียหาย อย่างน้อยก็อีก 6 เดือน แต่ความจริงไม่เป็นเช่นนั้น หลังจากที่เราลองทดสอบให้เครื่องจักรทำางาน
โดยคอย monitor การทำางานไปเรื่อยๆ เพียงแค่ 1 เดือนครึ่งเท่านั้น motor ก็ไหม้อีก ผมคิดวิธีไม่ออก จึงได้ไป
ปรึกษา senior technician คนนึง ที่ทำางานมาตั้งแต่โรงงานที่สำาโรงก่อตั้งช่วงแรกๆ (เมื่อเกือบ 40 ปีที่แล้ว) เค้า
บอกว่า การใช้ theory ในการคำานวณนั้นถูกต้อง แต่ว่า มันน่าจะมีปัจจัยอื่นๆ อีก เมื่อตอนโรงงานที่สำาโรงเพิ่งก่อตั้ง
Toyota ไม่ได้ผลิตด้วยความเร็วและกำาลังการผลิตขนาดเท่ากับตอนนี้ ตอนนั้นโรงงานเราผลิตด้วยอัตรามากกว่า 15
นาทีต่อคัน แต่ตอนนี้ เรามีอัตราการผลิตเท่ากับ 57 วินาทีต่อคัน design ของ Daifuku นั้นไม่ได้เผื่อไว้สำาหรับ
การเพิ่มความเร็วการผลิตขนาดนี้ motor อาจจะใหญ่พอสำาหรับการยกรถได้ แต่ถ้าทำางานด้วยอัตราที่เกินกำาลังติดต่อ
กันนานๆ ก็ทำาให้อายุการใช้งานลดลง พอผมได้ฟังอย่างนั้น ก็เลยคิดได้ว่า ที่ motor มันเสียหายในเวลาสั้นๆ เป็น
เพราะมันถูกใช้งานหนักเกินไป ทางทฤษฎี คำานวณแล้วอาจจะต้องการเพิ่มขนาดขึ้นแค่ 20% แต่ในทางปฏิบัติแล้ว เรา
ต้องเผื่อสำาหรับ factor อื่นๆ ที่ไม่สามารถคำานวณได้ด้วยทฤษฎีเพียงอย่างเดียว เข้าไปอีก ดังนั้น ผมจึงสั่งซื้อ motor
ที่มีขนาดใหญ่กว่าเดิมถึง 50% ซึ่งราคาสูงมาก มาเปลี่ยนแทนตัวเก่า และก็สำาเร็จ เพราะว่า main lifter สามารถ
ทำางานได้ตามปกติโดยที่ motor ไม่เสียหาย นานถึง 8 เดือน ซึง่ ก็ถือว่าคุ้มค่าเมื่อเทียบกับ stop time ที่ลดลง 30
นาทีต่อเดือน ดังนั้น project นี้จงึ สอนผมว่า ในการทำางานจริงนั้น มักมีบางสิ่งบางอย่างที่ beyond
expectation เสมอ เพราะ theory ไม่สามารถอธิบายปรากฏการณ์ได้ทุกอย่าง ดังนั้น hands on
experience จึงมีค่ามาก และจะได้มาจากการเรียนรู้ด้วยตัวเอง (Link with essay #2 of Columbia)

Be accepted to the team & Teamwork

• เหตุการณ์ที่แก้ปัญหาเรื่อง robot ทากาวกระจก ของ assembly line ที่ทำาให้เกิตความเสียหายกับรถประมาณ


เกือบ 30 คัน คิดเป็นเงินประมาณ 30,000 USD และการใช้วิกฤตินี้ ในการสร้างบรรยากาศของ Team โดยการ
แสดงความรับผิดชอบ และโดนหักเงินแทนลูกทีม (ทุกคนคือทีมเดียวกัน เผชิญปัญหาด้วยกัน และ รับผิดชอบร่วมกัน
โดยไม่แบ่งแยกหัวหน้าหรือลูกน้อง)
• การจัดตั้ง team bank โดยการเก็บเงินคนในทีมรายเดือน โดย manager (50 USD) engineer (30
USD) technician (10 USD) นำามาตั้งเป็น ธนาคารของทีม โดยให้คนที่มีปัญหาทางด้านการเงินกู้ยืม โดยคิด
ดอกเบี้ยตำ่าๆ (ปกติ พนักงานมักจะไปขอยืมเงินกู้นอกระบบ ซึ่งดอกเบี้ยแพงมาก) ซึ่งสามารถช่วยคนเหล่านั้นได้เป็น
อย่างมาก ทำาให้พวกเค้าสามารถบริหารเงินที่มีอยู่อย่างจำากัดได้ดีขึ้น และไม่ต้องไปเสียดอกเบี้ยแพงๆ

เกือบขาหักไปข้างนึงเพราะไม่รู้ลิมิตของตัวเอง

• หลังจากทำางานมาได้ประมาณ 4 เดือน เป็นช่วงที่ผมต้องช่วย technician ในการ analyze ปัญหาของเครื่องจักร


ในโรงงานมากขึ้น หลังจากเรียนรู้ process การผลิตมาได้ระยะนึง ซึ่งโดยปกติแล้ว คนที่ลงมืปฏิบัติคือลูกทีมผม โดย
ผมมีหน้าที่สั่งการอยู่ห่างๆ แต่วันนั้น มีปัญหาที่ Hanger (เป็นเครื่องจักรมีลักษณะคล้ายๆ ตะขอ 2 ข้างสำาหรับหิ้วรถ
ที่อยู่ชั้นบนของโรงงาน เพื่อไปวางในสายพานหรือ conveyor ของ process ถัดไป) ด้านบนของโรงงาน ทำาให้
การผลิตหยุดไปประมาณ 20 นาที ซึ่งถือว่ามากเกินไป สำาหรับโรงงานที่ผลิตรถด้วยอัตรา 1 คันต่อนาที อย่างที่โรงงาน
Toyota สำาโรง ผมจึงขึ้นไปดูหน้างานจริงที่ด้านบนของโรงงาน ซึ่งผมไม่เคยขึ้นไปมาก่อน ที่ผ่านมาได้แต่มองดูจาก
ด้านล่าง ผมขึ้นไปควบคุมการทำางานของลูกทีมด้วยตัวเอง เพราะว่าเราต้องแข่งกับเวลา หลังจากที่เครื่องจักรถูกซ่อมเสร็จ
แล้ว ด้วยความหวังดีของผม ผมได้ไปยืนบน safety net และทำาการเช็คสภาพ hanger อีกครั้ง ตอนนั้นลูกทีมผม
ก็ได้ทำาการเปิดไฟ เพื่อจะเช็คการทำางานของ hanger โดยที่ไม่ทันได้สังเกตุว่าผมกำาลังยืนอยู่ตรงจุดอันตรายที่
hanger จะวิ่งผ่าน และตัวผมเองก็ไม่ทันได้ระวังตัว และไม่ได้สังเกตุเห็น hanger ที่อยู่ด้านหลัง และกำาลังวิ่งเข้ามา
หาผม ลูกทีมผมคนนึง ตะโกนด้วยความตกใจว่า ให้หลบไป ผมหันไปเห็น hanger กำาลังวิ่งเข้ามา จึงกระโดดไปทาง
ด้านข้างเพื่อจะหลบมัน โชคยังดีที่ผมหลบทัน แต่โชคไม่ดีที่ขาผมไปเกี่ยวกับเหล็กของ safety net ที่ยื่นออกมา
ทำาให้เป็นแผลลึก และยาวประมาณ 10 cm ถ้าโชคไม่ดี ผมหลบไม่ทัน ขาผมคงโดน hanger ที่สามารถยกรถได้ทั้ง
คัน เบียดเข้ากับ safety net จนหักแน่ๆ จากเหตุการณ์ครั้งนี้ ทำาให้ผมได้เรียนรู้ว่า คนทุกคนย่อมมีทั้งเรื่องที่ตัวเอง
ถนัดและไม่ถนัด ทุกคนควรจะรู้ลิมิตของตัวเอง และอย่าฝืนทำาเกินลิมิตนั้น “Everyone has a limit. You
need to know yours.”

New role as a Project Leader

• หลังจากที่ทำางานที่ Toyota ได้ประมาณ 10 เดือน ตอนนั้น Toyota มีโครงการที่จะเปิดโรงงานผลิตแห่งใหม่ที่


บ้านโพธิ์ จ. ฉะเชิงเทรา ซึ่งเป็น plant ที่ใหญ่ที่สุดใน Southeast Asia และจะมีกำาลังการผลิตในอนาคตสูงที่สุด
(ประมาณ 300,000 คันต่อปี) รองจากที่โรงงานแม่ ที่ Motomachi ที่ญี่ปุ่นเพียงแห่งเดียวเท่านั้น ซึ่งแผนกต่างๆ
ทั้งหมดใน Toyota Thailand จะทำาการแบ่งคนที่มีอยู่ออกมาส่วนนึง ประมาณ 30% เพื่อสร้างเป็น pilot
team ในการ run project ใหม่ ที่ อ. บ้านโพธิ์ โดยตอนนั้นที่แผนก maintenance engineering ของ
ผม ก็จะต้องเลือก engineer ออกมาทั้งหมด 4 คน จาก 15 คน ของ plant ที่สำาโรง โดย 1 ใน 4 คนนี้ จะมีคนนึง
ที่จะเป็น project leader ที่จะคุม engineer อีก 3 คน รวมถึงอีก 2 คนทีจ่ ะจ้างเพิ่ม เป็น 6 engineer และ
พวก technician ทั้ง 6 shop (assembly, paint, body, unit, pump and resin) อีกประมาณ
50 คน คนที่จะทำาการคัดเลือกคือ GM และ Manager ของโรงงานที่สำาโรง ซึง่ ทุกคนเห็นตรงกันว่า อยากให้
engineer ที่เป็น new generation เป็นคนที่ไปทำา project นี้ เพราะว่าจะได้ทำาให้ production ของ
โรงงานที่สำาโรงยังสามารถรันได้อย่าง smooth ต่อไป และอยากให้คน generation ใหม่ๆ ได้เรียนรู้ระบบทุก
อย่างโดยเริ่มต้นจากศูนย์ ซึ่งใน 4 คนนั้นมีผมรวมอยู่ด้วย และก็ต้องหาคนที่จะมาเป็น project leader ซึ่งผมเป็น
คนที่ได้รับเลือกให้ทำาหน้าที่นี้ และเป็นคนที่อายุน้อยสุดในแผนก โดยวันที่ผมรู้ ผมลังเลที่จะตอบรับด้วยเหตุผลหลายๆ
อย่าง เช่น ผมไม่อยากไปอยู่ต่างจังหวัด และก็รู้สึกว่ามันเร็วไป ทีจ่ ะไปเป็น leader ให้กับ engineer ที่อายุมากกว่า
แต่วันนั้น GM เข้ามาบอกผมว่า ด้วยระยะเวลาเกือบ 1 ปีที่ผ่านมา เค้าเชื่อมั่นว่า ผมทำาได้ โดยดูจากสิ่งที่ผมได้
contribute ให้กับบริษัทเช่น การ analyze root cause ของปัญหาเครื่องจักรในโรงงาน การทำา
preventive maintenance ซึง่ ช่วยลดระยะเวลาการหยุดการผลิต (stop time) ไปได้ถึง 20% ต่อเดือน
การเป็น engineer ที่ได้รับเลือกให้เป็น the best trainer ของบริษัท และสามารถถ่ายทอดความรู้ให้คนอื่นได้
เป็นอย่างดี และที่สำาคัญที่สุด คือ character ของผม ที่สามารถเข้ากับคนอื่นได้ง่าย และ humble น่าจะทำาให้ผม
สามารถทำาหน้าที่ตรงนี้ได้ พอได้ฟังอย่างนี้ ผมตอบรับทันที เพราะว่าก็ถือเป็นโอกาสที่ดี ที่จะได้เรียนรู้การทำางานใน
level ที่สูงขึ้น และการได้เป็น leader ของ engineer 6 คน และ technician อีก 50 คน จากเดิมที่เคย
lead technician แค่ 15 คน ถือเป็นความท้าทายสำาหรับเด็กที่เพิ่งจบมาได้แค่ปีเดียวอย่างผม

Big Challenge

• อย่างไรก็ตาม ชีวิตในการทำางานก็ไม่ได้ง่ายอย่างที่คิด วันแรกที่มีการประชุมทีมกัน ระหว่าง engineer และ


technician หลังจากแนะนำาตัวกันเสร็จ และมอบหมายงานในเบื้องต้น ผมโดน GL (Group Leader) ซึง่
เป็น senior technician พูดกลางที่ประชุมว่า “ทำาไม GM เอาเด็กมาทำางานนี้วะ??” ทำาเอาผมอึ้งและไม่
สามารถพูดอะไรต่อได้ หลังจากมีทติ้งนั้น ผมแทบจะอยากร้องไห้ เพราะว่า ไม่เคยเจอแบบนี้มาก่อนในชีวิตการทำางาน
และก็ยังไม่ได้เริ่มทำาอะไรเลย ก็โดนดูถูกซะแล้ว ผมเล่าเรื่องนี้ให้กับรุ่นพี่ engineer ที่เป็นคนสอนงานผมมาตั้งแต่ต้น
ฟัง พี่เค้าบอกว่า อย่าไปสนใจ คนเรามันมีหลายแบบ หลายประเภท เราต้องพิสูจน์ตัวเอง หลังจากนั้น ผมก็คิดมาตลอดว่า
ผมจะต้องทำาให้เค้าและทุกคนในทีม ยอมรับผมให้ได้
• ต่อมาอีกประมาณ 3 เดือน คือช่วงที่ทีมของผมจะต้องเริ่มทำา quality check สำาหรับเครื่องจักรแต่ละเครื่องที่จะนำา
ไปติดตั้งที่ plant ใหม่ ผมต้องไปทำา quality check ของเครื่องจักร ใน tester line ซึง่ เอาไว้สำาหรับ test
รถที่ผลิตเสร็จแล้ว และก็ AVI (Automatic Vehicle Identification) technology ที่ Japan ซึ่งมี
มูลค่ากว่า 60 million USD ซึ่งเป็นงานที่ under pressure มากที่สุดในการทำางานที่ Toyota เพราะว่าน
อกจาก มูลค่าของเครื่องจักรที่สูงมากแล้วและการที่จะต้องไม่ให้เกิดข้อผิดพลาดในการทำางานเนื่องจากเกี่ยวข้องกับ ชีวิต
ของคนที่จะมา operate และ ซ่อมเครื่องจักรแล้ว ยังถือเป็นการไปทำางานต่างประเทศครั้งแรกในชีวิตของผมด้วย

เรื่องเศร้าก่อนเดินทาง

• ผมมีกำาหนดการเดินทางในคืนวันที่ 3 June 2006 และจะไปอยู่ที่ญี่ปุ่นประมาณเกือบ 1 เดือน ผมค่อนข้างตื่นเต้น ที่


จะได้ไปญี่ปุ่นเป็นครั้งแรก ได้ไปดูโรงงานผลิตรถที่ชื่อว่า ใหญ่ที่สุดในเอเชีย แต่ว่าเรื่องเศร้าก็เกิดขึ้นเมื่อตอนเช้าวันที่ 3
June 2006 แม่ผมเข้ามาเรียกที่ห้อง ให้ตื่นเพื่อขับรถพาป้าของผม ซึ่งคืนนั้นมานอนที่บ้านผม ให้ไปโรงพยาบาล ป้า
ของผมป่วยและตรวจพบว่าเป็นโรคมะเร็งตับระยะก่อนสุดท้ายมาได้ 6 เดือนแล้ว ผมขับรถเร็วแบบไม่คิดชีวิต ใช้เวลาไม่
นานก็ไปถึงโรงพยาบาลได้ไม่นาน หลังจากป้าผมถูกนำาตัวเข้าห้อง ICU ได้ไม่นาน ป้าผมก็เสียชีวิตลง ผมเศร้ามาก ใน
ใจคิดถึงแต่เรื่องงานศพ และไม่อยากที่จะไปญี่ปุ่นแล้ว อยากจะอยู่ร่วมงานทางนี้มากกว่า กระเป๋าก็ยังไม่ได้จัด จากนั้นก็
กำาลังจะโทรศัพท์เพื่อบอกหัวหน้าของผม เพื่อจะบอกว่า ขอเลื่อนการเดินทาง หรือไม่ก็ให้คนอื่นไปแทน ตอนนั้น ญาติ
ผมที่เป็นลูกของป้าที่เสียไปก็ได้มาบอกกับผมว่า เค้าขอบคุณมาก ที่ช่วยดูแลแม่ของเขาในช่วงสุดท้าย ช่วงที่แม่ของเค้ายัง
มีชีวิตอยู่ และบอกว่า ให้ไปญี่ปุ่นและไม่ต้องห่วงงานทางนี้ ทุกคนในครอบครัวก็พูดแบบเดียวกัน ผมจึงรู้สึกดีขึ้นและทริ
ปนี้ จะมี ลูกทีมของผมที่เป็น engineer และ technician ไปกับผมด้วยอีก 10 คน ผมคิดว่า ถ้าผมไม่ไป ลูกทีม
ผมคงลำาบากแน่ๆ ผมจึงรีบกลับไปจัดกระเป๋าเพื่อเดินทางในตอนกลางตืน

ประสบการณ์ที่ญี่ปุ่น

• หลังจากถึงที่ญี่ปุ่นแล้ว ก็ได้พัก 1 วัน และในทริปนี้ อาทิตย์แรก เราต้องไปทำา quality check ของเครื่องจักร (


เป็นการตรวจสอบ spec, defect ของเครื่องจักร, การดัดแปลง หรือเพิ่มเติมชิ้นส่วนต่างๆ เพื่อให้การ operate
machine ง่ายและปลอดภัยมากยิ่งขึ้น) ที่บริษัท Banzai Japan หลังจากนั้นก็ไปที่ บริษัท Rockwell
Automation ต่อ เพื่อไปศึกษาและทำา quality check สำาหรับ AVI technology ซึ่งทั้ง 2 อย่างนี้ มี
มูลค่ามากกว่า 60 million USD และการทำางานที่ญี่ปุ่นนั้น หนักกว่าที่คิดไว้มาก เพราะว่า ต้องทำางานตั้งแต่
7.30 จนถึงเที่ยงคืน เกือบทุกวัน แต่ก็ถือเป็นประสบการณ์ที่มีค่ามาก เพราะว่าได้เรียนรู้วัฒนธรรมการทำางานของคน
ญี่ปุ่น ซึ่ง appreciate คนที่ทำางานใน extra time อย่างมาก การทำางานที่เน้นเรื่อง Safety มากที่สุดให้กับ
พนักงานทุกคนในโรงงาน เพราะความผิดพลาดหมายถึงชีวิต การเรียนรู้และแก้ปัญหาจากหน้างานจริง การได้เห็นของ
จริงและลงมือปฏฏิบัติ มากกว่าการเชื่อ theory เพียงอย่างเดียว การได้อยู่หอพัก Toyota กับพนักงานของ
Toyota ที่มาจากทั่วโลก เช่น India, South Africa, China, and USA ช่วงเวลาทั้งหมด ผมได้เรียนรู้
วัฒนธรรมของคนจากหลายๆ ประเทศมากขึ้น และเรียนรู้การปรับตัวให้เข้ากับคนหลายๆ culture การ adapt ตัว
เองโดยการใส่ culture ของคนไทย ที่คนต่างชาติชื่นชม เช่น ความสุภาพ อ่อนน้อม และ การเป็นคนอารมณ์ดี ซึง่
ทำาให้ผมได้เพื่อนใหม่ที่นั่นมากมายในช่วงเวลาสั้นๆ และได้ฝึกการทำางานในช่วงเวลาที่จำากัด เพื่อให้ได้ quality ที่ดี
ที่สุด time management, communication skill กับคนจากหลากหลายประเทศ, และแม้ตอนนั้นจะ
เป็นช่วงของฟุตบอลโลก World Cup 2006 แต่คนญี่ปุ่นก็ยังคงติดตามการแข่งขันเบสบอลอยู่ตลอดเพราะว่าถือ
เป็นกีฬาประจำาชาติอีกอย่างนึง ผมจึงใช้เวลาช่วงวันหยุดเพื่อศึกษาและหัดเล่นเบสบอล เพื่อที่จะเรียนรู้ culture และ
เข้ากับคนญี่ปุ่นให้ได้ดียิ่งขึ้นด้วย และก็ทำาให้การทำางานง่ายขึ้นตามไปด้วย เพราะว่าเราสามารถสร้าง relationship
ที่ดีกับเพื่อนร่วมงาน

Zero Accident Achievement

• หลังจากกลับมาจากญี่ปุ่น ก็เป็นขั้นตอนการติดตั้งเครื่องจักรทั้งหมดที่โรงงานแห่งใหม่ โดยมีเวลาทั้งหมด 5 เดือน ซึง่


ถือว่าสั้นมากเมื่อเทียบกับจำานวนเครื่องจักร และขนาดของโรงงาน ผมจะต้องควบคุม engineer และ technician
ในทีมทั้งหมด 56 คน รวมถึงคนงานจาก vendor ข้างนอกที่จะเข้ามาทำางานในส่วนที่ผมดูแล (assembly
line) อีกกว่า 500 คน ซึ่งไม่ง่ายเลยที่จะดูแลพนักงานเหล่านี้ อย่างทั่วถึง
• ในวันแรกๆ ของการติดตั้งเครื่องจักร GL คนที่เคยดูถูกผมเมื่อวันแรกบอกกับผมว่า “เราต้องทำางานให้เสร็จทัน ตามที่
กำาหนด อุบัติเหตุมันหลีกเลี่ยงไม่ได้อยู่แล้ว” ผมตอบกลับทันทีว่า “ไม่ได้ การทำางานที่นี่ อุบัติเหตุต้องเป็นศูนย์” ทุกคนที่
ได้ยินผมพูด ดูเหมือนจะหัวเราะกับสิ่งที่ผมพูดออกไป และคิดว่ามันเป็นไปไม่ได้ เพราะจากประสบการณ์ของพวกเขา ไม่
ว่าจะทำางานที่ไหนก็ตาม ถ้าเป็นในโรงงานแล้ว ยังไงอุบัติเหตุก็เป็นสิ่งที่เกิดขึ้นเสมอ ไม่ว่าจะระวังแค่ไหน แต่ถึงยังไง
ก็ตาม ผมคิดว่า ผมมี power อยู่กับตัวแล้ว ผมจะต้องทำาให้ทุกคนทำางานอย่างปลอดภัย และจะต้องเป็น leader ที่
คิดถึงความปลอดภัยและชีวิตของลูกทีมเป็นสิ่งสำาคัญที่สุด
• ผมเริ่มจากการศึกษาจากประวัติของการเกิดอุบัติเหตุที่ผ่านมา ของโรงงานที่สำาโรงและ Gateway พบว่า มีการเกิด
อุบัติเหตุรุนแรงทุกที่ และเมื่อดู root cause analysis แล้วส่วนใหญ่เกิดจากความประมาท และรู้เท่าไม่ถึงการณ์
ของคนทำางาน และการไม่ได้คาดการณ์อุบัติเหตุที่อาจจะเกิดล่วงหน้า ดังนั้น ผมจึงเรียกทีม engineer ของผมให้ช่วย
กันศึกษาความเป็นไปได้ในการเกิดอุบัติเหตุและคิดหามาตรการป้องกันต่างๆ เช่น ติดตั้งตาข่ายเพื่อรองรับคนที่มีโอกาส
ตกจากที่สูง ในพื้นที่การทำางานที่เสี่ยงอันตราย การนำามาตรการ buddy มาใช้เพื่อช่วยเตือนและเฝ้าระวังคู่หขู องตัวเอง
ขณะปฏิบัติงาน การตั้งทีม safety ของตัวเอง นอกเหนือจากแผนก safety ของบริษัท เพื่อการตรวจตราที่เข้มงวด
มากขึ้น การคิดมาตรการลงโทษสำาหรับผู้ที่ฝ่าฝืน เช่น พักงาน หากฝืนกฏความปลอดภัยของทีม การนำาเครื่องมือต่างๆ
เช่นสลิง ใช้สำาหรับเกี่ยวพนักงานเข้ากับเชือก เพื่อความปลอดภัยในการทำางานที่สูง การห้ามลงไปปฏิบัติงานใต้หลุมเพียง
คนเดียว ทั้งหมดนี้ผมและ engineer ทั้งหมดได้ช่วยกันเขียนขึ้นมา เพื่อเป็น standard ในการทำางานให้กับ staff
ทุกคน เพื่อปฏิบัติตามในช่วงเวลาทั้งหมดสำาหรับการติดตั้งเครื่องจักร แรกๆ standard นี้ถูกต่อต้านโดย senior
technician บางคนที่มองข้ามความปลอดภัยในการทำางาน และคิดจะทำางานเพียงแค่ให้เสร็จรวดเร็ ว ซึ่งผมได้
พยายามอธิบาย และยกตัวอย่าง case ที่เคยเกิดขึ้นมาและขอให้ทุกคนทำาความเข้าใจ และบอกว่า ถ้าภายในเวลา 1
เดือน ถ้าทุกคนปฏิบัติตามนี้แล้วยังมีอุบัติเหตุร้ายแรงเกิดขึ้น ผมจะยกเลิก และให้ทำางานตามแบบที่พวกเค้าต้องการ จน
กระทั่ง 1 เดือนผ่านไป ไม่มีอุบัติเหตุเกิดขึ้นเลย standard นี้ได้รับการยอมรับมากขึ้น และถูกใช้ต่อจนกระทั่ง
project ของการติดตั้งเครื่องจักรเสร็จสิ้นลง
• 5 เดือนผ่านไป ผมและทีมสามารถทำาให้อุบัติเหตุขั้นรุนแรงเป็นศูนย์ได้ แม้จะมีอุบัติเหตุเล็กๆ น้อยๆ บ้าง แต่ก็ไม่มีใคร
ได้รับอันตรายรุนแรงหรือเสียชีวิต ผมภูมิใจกับความสำาเร็จอันนี้มาก เพราะนอกจากจะได้รับรางวัน Zero
Accident Award แล้ว ผมยังได้ใช้ power ของการเป็น leader ในการนำาทีมของผมกว่า 50 คนและ
พนักงานจาก outside vendor อีก กว่า 500 คน ปฏิบัติงานได้อย่างปลอดภัย และงานการติดตั้งของเราก็สำาเร็จ
ทันเวลา นอกจากนี้ สิ่งที่สำาคัญที่สุดคือ ผมสามารถพิสูจน์ตัวเองให้กับ GL คนนั้นได้เห็น ว่า “No matter how
young I am. What matters is how well I perform” สุดท้าย GL คนนั้นก็ยอมรับในตัวผม และ
เข้ามาขอโทษผมกับสิ่งที่เค้าพูดไปในวันแรกของการทำางาน project นี้ ในวันสุดท้ายที่ผมทำางานที่ Toyota

Thomson Reuters Experience

• Charity projects: At Thomson Reuters, there are many charity projects and
CSR (Corporate Social Responsibilities) activities – I recently led the team to
initiate lucky draw to help raise fund for the project. It is the new strategy to
attract people to donate money for the CSR activities. For example, in order to
server employees’ IT needs, the prizes are Blackberry, HP computer desktop,
and mobile. The strategy was very successful because we sold more than 2000
tickets and raised fund more than 200,000 THB. CSR activities are building
check dams, beach cleaning, and school libraries projects.
• การ manage Allied resource แบบ remote
• การเป็น QA Project Leader ทำางานร่วมกับ development leader และ project manager ใน
การ run project เรื่อง MiFID under pressure (Team failure ?? Good quality at
reasonable not any cost)
• Project leader promotion
• Short & long term goals (Short term = Start business, Long term = Make it
become a top-tier firm)

Вам также может понравиться