Вы находитесь на странице: 1из 85

ระบบต่อม

ไร้ท่อ
(Endocrine System)

อ. วัชรวิทย์ มีหนองใหญ
1
•เพือ
วั
่ ให้นิสต
ต ถุ ป ระส
ิ สามารถทราบเกีย ่ วกับ
อวัยวะต่างๆทีท ่ งค์
ำาหน้าทีส
่ ร้าง
ฮอร์โมน
•เพือ
่ ให้นิสต ิ สามารถจำาแนก
ประเภทของฮอร์โมนได้
•เพือ่ ให้นิสต ิ สามารถอธิบายกลไก
การทำางานของฮอร์โมนได้
•เพือ ่ ให้นิสต ิ สามารถอธิบายหน้าที ่
ของฮอร์โมนสัตว์ได้
2
ต่อมไร้ทอ
่ (endocrine gland)
 หมายถึง ต่อมทีท ่ ำาหน้าทีส
่ ร้างสารเคมีที ่
เรียกว่าฮอร์โมนแล้วถูกลำาเลียงไปออกฤทธิ ์
อย่างจำาเพาะทีอ
่ วัยวะเป้าหมาย (target
organ) โดยอาศัยระบบหมุนเวียนโลหิต

 อวัยวะในร่างกายทีม ่ ีหน้าทีส
่ ร้างฮอร์โมน
เช่น ต่อม thyroid, parathyroid, adrenal,
pituitary เป็ นต้น

3
hormone

4
ชนิดของต่อมไร้ท่อ
 ต่อมไร้ท่อชนิดทีแ
่ ยกอยู่เดีย
่ ว ผลิตฮอร์โมนเป็ น
หน้าทีห
่ ลัก ได้แก่
 ต่อมใต้สมอง (Hypophysis, Pituitary gland),
 ต่อมไธรอยด์ (Thyroid gland),
 ต่อมพาราไธรอยด์ (Parathyroid gland),
 ต่อมหมวกไต (Adrenal gland),
 ต่อมไพเนียล (Pineal gland, Epiphysis)
 ต่อมไร้ท่อชนิดทีอ
่ ย่ร
ู ่วมกับต่อมมีทอ

 ตับอ่อนส่วน Islets of Langerhans,
 รังไข่ (Ovary) และอัณฑะ (Testes),
 กลุ่มเซลล์ในรก (Placenta),
 กลุ่มเซลล์ในไต (Kidney)

5
โมเลกุลสัญญาณ
 Hormones เป็ นสารเคมีทห ี ่ ลัง่ จากต่อมไร้ทอ ่ เมือ
่ หลัง ่
ออกมาแล้วถูกนำาไปยังเป้าหมายทีห ่ า
่ งไกล โดยไหลไป
ตามกระแสไหลเวียนเลือด
 Neurotransmitters เป็ นสารสือ ่ ประสาททีห ่ ลัง
่ จากปลายข
องเซลล์ประสาท
 Local signalling molecules เป็ นสารทีห ่ ลัง
่ จากเซลล์
ของเนื้อเยือ
่ ชนิดต่างๆทำาให้สภาพทางเคมีของบริเวณ
ใกล้เคียงเปลีย่ นไป
 Pheromones หลัง ่ จากต่อมมีทอ ่ (exocrine glands) บาง
ชนิด และมีเป้าหมายอยู่นอกร่างกาย และสารนีม ้ ีผล
ทางด้านพฤติกรรมสังคมระหว่างสัตว์ชนิดเดียวกัน

6
ฮอร์โมน (hormone)
• หมายถึง สารเคมีทีส ่ ร้างจากเซลล์
จำาเพาะของต่อมไร้ท่อ อาจมีคุณสมบัติ
เป็ นกรดอะมิโน เพปไทด์ ไกลโค
โปรตีน หรือ สเตียรอยด์
• เมือ่ สร้างขึ้นแล้วจะถูกปล่อยเข้าสู่
กระแสเลือดแล้วกระจายไปทัว ่ ร่างกาย
โดยจะมีผลต่ออวัยวะเป้าหมายอย่าง
จำาเพาะเจาะจง

7
บทบาทหน้าทีข
่ องฮอร์โมน
 ควบคุมขบวนการเมตาบอลิซึมต่างๆภายในร่างกาย เช่น ไธรอก
ซิน
 ควบคุมภาวะสมดุลต่างๆในร่างกาย เช่น ความดันโลหิต, ปริมาณ
นำ้า ได้แก่ ฮอร์โมน ADH
 ควบคุมการเจริญเติบโต เช่น การทำางานของ growth hormone
 ควบคุมเกีย ่ วกับระบบสืบพันธ์ุ การคลอดบุตร และการหลัง่ นำ้านม
เช่น Estrogen, Oxytocin
 ควบคุมเกีย ่ วกับการปรับตัวของสิง่ มีชว
ี ิตให้เข้ากับสภาพแวดล้อม
เช่น Melatonin

8
ลักษณะทัว
่ ไปของฮอร์โมน
1. สร้างหรือสังเคราะห์จากกลุ่มเซลล์พเิ ศษทีไ่ ม่มีทอ

2. สารนีอ้ าจถูกหลัง่ ออกสู่กระแสเลือดทันที หรือถูก
เก็บไว้ถึงระดับหนึง่ รอการกระต้น ุ
3. มีคุณสมบัตท ิ างเคมีเป็ น สเตียรอยด์ โปรตีน
ไกลโคโปรตีน อนุพันธ์ของกรดอะมิโน หรือ
อนุพันธ์ของกรดไขมัน
4. ใช้ปริมาณเล็กน้อยในการออกฤทธิท ์ ำางานตามที ่
ร่างกายต้องการ

9
ลักษณะทัว
่ ไปของฮอร์โมน
(ต่อ)
5. เซลล์หรืออวัยวะเป้าหมายอยู่ห่างไกลจาก
แหล่งสร้าง
6. การออกฤทธิม ์ ีความจำาเพาะกับเซลล์เป้าหมาย
7. โปรตีนฮอร์โมนไม่กระตุ้นให้เกิดกระบวนการ
ใหม่แต่ทำาให้เกิดการเปลีย ่ นแปลงกระบวนการ
เดิมทีม
่ ีอยู่แล้ว
8. การทำางานของฮอร์โมนหลายชนิดอาจให้ผล
เสริมฤทธิก ์ ัน (synergistic effect) หรือยับยั้งกัน
(antagonism effect)

10
ประเภทของฮอรโมน
 โมน
 ฮอรโมนสามารถแบ
 โมนสามารถแบงออกเป็
 งออกเป็ น 2
ชนิดใหญ่ๆคือ
 ฮอร์โมนกล่ม
ุ สเตียรอยด์ (Steroid
hormone)
 ฮอร์โมนกล่มุ ทีไ่ ม่ใช่สเตียรอยด์
(Non-Steroid hormone)

11
ฮอร์โมนกลุ่มสเตียรอยด์
(Steroid hormone)
► สร้างจากต่อมไร้ทอ
่ ทีม
่ ีตน
้ กำาเนิดมาจากเนื้อเยือ

ชัน
้ mesoderm
► มีโครงสร้างของ Cyclopentanohydrophenantrene
ring เป็ นองค์ประกอบหลัก
► มีคลอเลสเตอรอลเป็ นสารตัง ้ ต้นในการ
สังเคราะห์
► ได้แก่ estrogen, progesterone, testosterone,
aldosterone, cortisol

12
ฮอร์โมนกลุ่มทีไ่ ม่ใช่สเตียรอยด์ (Non-
Steroid hormone)
เป็ นฮอร์โมนทีป
่ ระกอบด้วยกรดอะมิโน สามารถละลายนำ้าได้ แบ่งได้อีก 4
กลุ่มคือ
1. โปรตีนฮอร์โมน หรือ เพปไทด์ฮอร์โมน (protein hormone
หรือ peptides hormone)
– มีคุณสมบัติละลายนำ้าได้ดีและมีขนาดโมเลกุลใหญ่่
– ไม่สามารถผ่านเข้าเซลล์ได้ แต่ออกฤทธิโ์ ดยจับกับตัวรับ (receptor)
ทีเ่ ยือ
่ ห้ม
ุ เซลล์ และส่งสัญญาณผ่านผู้สือ
่ ข่าวที ่ 2 (cAMP)
– และมีผลต่อกระบวนการ phospholylation ทีเ่ ซลล์เป้าหมาย (target
cell) เช่น ฮอร์โมนทีผ ่ ลิตจากต่อมใต้สมอง (pituitary gland) และสม
องส่วนไฮโปธาลามัส (hypothalamus)

13
2. ไกลโคโปรตีนฮอรโมน (glycoprotein
hormone)
• เป็ นฮอรโมนที่มีท้ ังโปรตีนและคารโบไฮเดรท
เป็ นสวนประกอบภายในโมเลกุล เชน FSH,
LH, TSH
2. อนุพันธของกรดอะมิโน (amino acid
derivative)
• ฮอรโมนกลุมนี้ มีคุณสมบัตท
ิ ้ ังของสเตียรอย
ดและเพปไทด เชน อิพิเนฟริน
(epinephrine), นอรอิพิเนฟริน 14

(norepinephrine)
การสังเคราะห์สเตียรอยด์
ฮอร์โมน
• การสังเคราะห์สเตียรอยด์ฮอร์โมนเกิดขึ้น
ภายในเซลล์ทีบ่ ริเวณของ
เอนโดพลาสมิกเรติคูลัมชนิดเรียบ (smooth
endoplasmic reticulum)
• โดยทีค
่ ลอเลสเตอรอลจะถูกเปลีย ่ นให้เป็ นโปร
เจสเตอโรนก่อนทีจ ่ ะถูกเปลีย
่ นเป็ นสเตียรอยด์
ฮอร์โมนชนิดอืน่ ๆต่อไป
• สเตียรอยด์ฮอร์โมนเมือ ่ สร้างแล้วจะถูกคัดหลัง ่
ออกจากเซลล์ทันที โดยไม่มีการเก็บสะสมไว้
ภายในเซลล์
15
การสังเคราะหสเตียรอยดฮอรโมน

16
การสังเคราะห์โปรตีนฮอร์โมน

• โปรตีนฮอร์โมนและไกลโคโปรตีนฮอร์โมนมีการ
สังเคราะห์ทีบ่ ริเวณของเอนโดพลาสมิกเรติคูลม ั
ชนิดหยาบ (RER)
• ไกลโคโปรตีนฮอร์โมนจะมีการเติมส่วนของคาร์
โบไฮเดรทภายหลังจากการสังเคราะห์ส่วนของ
โปรตีนเสร็จแล้ว
• ฮอร์โมนทีส่ ร้างจะถูกส่งไปเก็บสะสมในรูปของถุง
ซึง
่ หลุดจากส่วนปลายของกอลไจแอปพาราตัส
(golgi apparatus) เรียกว่า secretory granules
• ฮอร์โมนเมือ่ แรกสร้างจะอย่ใู นรูป prohormone
หรือ prehormone ซึง ่ ยังไม่สามารถออกฤทธิ ์
ทำางานได้
17
การคัดหลัง
่ และการขนส่ง
ฮอร์โมน
•การหลัง ่ ฮอร์โมนโดยเฉพาะโปรตีน
ฮอร์โมนและ catecholamine ออกจาก
เซลล์อาศัยกระบวนการทีเ่ รียกว่า
exocytosis ในรูป secretory granules
•สเตียรอยด์ฮอร์โมน มีขนาดโมเลกุลเล็ก
และละลายได้ในไขมัน จึงผ่านออกจาก
เยือ
่ เซลล์ได้โดยตรง ไม่ตอ ้ งเก็บไว้ในรูป
secretory granules
•สเตียรอยด์ฮอร์โมนเมือ ่ หลัง่ ออกมาจาก
เซลล์ทีส ่ ร้างและเข้าส่ก
ู ระแสเลือดจะ
จับกับโปรตีนในเลือด สำาหรับโปรตีน 18
การควบคุมการทํางานของฮอรโมน
► ควบคุมโดยระบบประสาท (Neural)
 ได้แก ตอมใต้สมองสวนหลัง และอะดรีนัลเมดัลลา
► การควบคุมโดยฮอรโมน (Hormonal)
 เชน ตอมใต้สมองสวนหน้าสร้างฮอรโมนมาควบคุมตอม
ไทรอยดสร้างฮอรโมนเพิ่มขึ้น
► การควบคุมโดยผลของฮอรโมน (Humoral)
 เชน ระดับแคลเซียมในพลาสมาตํา่ จะมีผลกระ
ตุ้นให้ตอม พาราไทรอยดหลัง่ ฮอรโมนอ
อกมามาก
การควบคุมการทำางานของฮอรโม

20
การควบคุมแบบย้อนกลับ
(feedback control)
เป็ นปรากฏการณที่ฮอรโมนหรือสารที่หลัง่ ออก
มาเพื่อตอบสนองตอฮอรโมนที่มากระตุ้น
มีผลย้อนกลับไปควบคุมการหลัง่ ของฮอรโมน
นั้นๆ

การควบคุมย้อนกลับมี 2 แบบคือ
1. การควบคุมแบบย้อนกลับเชิงบวก (Positive
feedback control)
2. การควบคุมแบบย้อนกลับเชิงลบ (Negative
feedback control)
Feedback Control

22
์ องฮอรโมน
กลไกการออกฤทธิข

• ในการออกฤทธิข ์ องฮอรโมนมีวิธก
ี ารที่แตก
ตางกันไปเป็ น 2 แบบใหญๆ ตามชนิ ดของ
ฮอรโมนคือ
–พวกสเตียรอยด
–พวกไมใชสเตียรอยด

23
กลไกการออกฤทธิข์ องฮอรโมนกลุม
สเตียรอยด
• สเตียรอยดฮอรโมนสามารถแพรผา นเยื่อเซลล
ของเซลลเป้ าหมายแล้วเข้าจับกับตัวรับที่มคี วาม
จําเพาะภายในนิ วเคลียสและไปมีผลตอขบวนการ
transcription
• ซึง่ เมื่อผานขบวนการ translation แล้วก็จะได้
โปรตีนตามต้องการ โดยโปรตีนนี้ อาจเป็ นเอนไซม
หรือฮอรโมนที่เซลลเป้ าหมายหลัง่ ออกมาเพื่อทํา
หน้าที่ตอ  ไป
• สรุป คือ สเตียรอยดฮอรโมนกระตุ้นหรือยับยั้ง
การสังเคราะหโปรตีนโดยการทํางานในระดับของ
25
์ องฮอรโมนกลม
กลไกการออกฤทธิข ุ ไมใช
สเตียรอยด
• ฮอรโมนกลุมนี้ มีขนาดโมเลกุลใหญและสามารถ
ละลายนํ้าได้ จึงไมสามารถผานชั้นของเยื่อ
เซลลของเซลลเป้ าหมายได้

• ทํางานโดยจับกับตัวรับที่บริเวณเยื่อเซลลของ
เซลลเป้ าหมายอยางจําเพาะ และออกฤทธิโ์ ดย
ผานกลไกของผ้ส ้ ่อ
ื ขาวที่สอง (c-AMP)
First me

Inactive proteinkinase A Active proteinkinase A

Phospholylation of cell

27
การทำาลายฤทธิแ ์ ละการ
กำาจัดฮอร์โมน
• เกิดขึ้นที่เซลลเป้ าหมายทันทีหรืออาจถ้กสงไปทําลายที่
ตับหรือไต
• เชน สเตียรอยดฮอรโมนหลังจากหมดหน้าที่แล้วจะจับกับ
พวก กล้โคโรไนด (glucoronide) หรือ
ซัลเฟต (sulphate) แล้วกําจัดออกมากับปั สสาวะ
• สําหรับเมทาบอไลทของฮอรโมนที่ไมสามารถละลายนํ้าได้
จะถ้กกําจัดออกทางนํ้าดีและอุจจาระ
• อาจพบฮอรโมนที่ยังไมถ้กทําลายฤทธิถ ์ ้กกําจัดออกทาง
ปั สสาวะ

28
ความสัมพันธระหวางไฮโปธาลามั
สกับตอมใต้สมอง
 ฐานของไฮโปธาลามัสมีกา้ นยื่น (stalk) โดยที่
ปลายของก้านยื่นคือตอมใต้สมอง
 ไฮโปธาลามัสหลัง่ releasing hormone เข้าส้ตอม
ใต้สมองสวนหน้าทางเส้นเลือดดํา hypothalamo-
pituitary portal system ที่อย้ใน pituitary stalk
 ไฮโปธาลามัสและตอมใต้สมองสวนหลัง มีการเชื่อม
ตอกันโดยระบบประสาท
สรุปความสัมพันธระหวางไฮโปธาลามัสกับตอม
ใต้สมอง
► ความสัมพันธระหวางไฮโปธาลามัสและตอมใต้สมอง
สวนหน้า
- ไฮโปธาลามัสหลัง่ releasing hormone มาควบคุม
การทํางานของตอมใต้สมองสวนหน้า
► ความสัมพันธระหวางไฮโปธาลามัสและตอมใต้สมอง
สวนหลัง
- ตอมใต้สมองสวนหลังทําหน้าทีเ่ ก็บฮอรโมน 2 ชนิ ด
ที่ถ้กสร้างจากไฮโปธาลามัสคือ ADH และ oxytocin
ฮอร์โมนทีส
่ ง
ั เคราะหและหลัง
่ จาก
ต่อมใต้สมองส่วนหน้า (anterior
pituitary)
มี 6 ชนิดได้แก่
• Follicle stimulating hormone
(FSH)
• Lutenizing hormone (LH)
• Thyroid stimulating hormone
(TSH)
• Adrenocorticotropic hormone
(ACTH)
• Growth hormone (GH) หรือ
ซลลเป้ าหมายของฮอรโมนที่หลัง่ จากตอมใต้สมอ
Follicle stimulating hormone
(FSH)
► เปนฮอรโมนประเภทไกลโคโปรตีน
์ ี่รังไข
► ออกฤทธิท (ovaries) ของเพศเมีย หรือ
อัณฑะ (testes) ของเพศผ้้
► ในเพศเมีย FSH จะทําหน้าที่กระตุ้นการเจริญ
เติบโตของถุงไข (ovarian follicle)
► ในสัตวเพศผ้้ FSH จะมีผลกระต้น ุ ให้้
seminiferous tubule สร้างเซลลอสุจิ
Hy
Lutenizing hormone (LH)
► เป็ นฮอรโมนประเภทไกลโคโปรตีน
► LH จะมีผลทําให้ graafian follicles เกิดการตก
ไข
► LH มีผลตอการพัฒนาของ คอรปสล้เทียม
(corpus luteum)
► สําหรับสัตวเพศผ้้ LH จะทําหน้าที่ในการกระตุน

leydig cell ในการสังเคราะหฮอรโมน
testosterone
Thyroid stimulating hormone
(TSH)
►เป็ นฮอรโมนประเภทไกลโคโปรตีน
►กระต้น
ุ การหลัง่ ฮอรโมนจากตอมไทรอยด
และกระต้น
ุ การเจริญเติบโตของตอมไทรอยด
Adrenocorticotropic hormone
(ACTH)
►เปนโปรตีนฮอรโมน
►กระตุ้นตอมหมวกไตชั้นนอก (adrenal
cortex) ให้ผลิตและหลัง่ ฮอรโมน
aldosterone และ cortisol
Growth hormone (GH) หรือ
Somatotrophin (STH)
► เป็ นโปรตีนฮอรโมน
► เกี่ยวกับการสร้างความเจริญเติบโตของรางกาย
โดยเฉพาะการเจริญเติบโตของกระด้กหรือกล้าม
เนื้ อ
► GH จะถ้กควบคุมโดยฮอรโมนที่สร้างจากสม
องสวนไฮโพทาลามัส คือ Growth hormone
inhibiting hormone (GHIH) และ Somatostatin
จาก delta cell ของตับออน
Prolactin
► เปนโปรตีนฮอรโมน
► มีหน้าที่เกี่ยวข้องกับการสร้างนํ้านมและการเจริญเติบโตของ
เซลลเต้านมโดยทํางานรวมกับ GH อีกทั้งยังมีผลตอ
พฤติกรรมของความเป็ นแม
► มีผลทําให้คอรปส  ล้เตียมบนรังไขคงสภาพอย้ไมฝอตัว
► ในสัตวเพศเมียที่ไมต้ ังท้อง หรือผสมไมติด ไฮโปธาลามัสจะ
หลัง่ โดปามีน (dopamine) มาที่ตอมใต้สมองสวนหน้าเพื่อ
ยับยั้งการหลัง่ โปรแลคติน
ฮอรโมนที่หลัง่ จากตอมใต้สม
องสวนหลัง
(posterior pituitary)
Oxytocin
Antidiuretic hormone (ADH)
หรือ vasopressin
Oxytocin
►เป็ นโปรตีนฮอรโมน
►หน้าทีค
่ อ
ื จะมีผลโดยตรงที่กล้ามเนื้ อ
เรียบ
- กระต้น
ุ การหลัง่ นํ้านม
- กระต้นุ การคลอด
Antidiuretic hormone (ADH) หรือ
vasopressin
► เปนโปรตีนฮอรโมน
► หน้าที่คือรักษาระดับนํ้าภายในรางกายเอาไว้
► กระตุ้นการบีบตัวของเส้นเลือดแดงทําให้ความดัน
โลหิตส้งขึ้น
► การควบคุมการหลัง่ ฮอรโมน ADH จะเกิดขึ้นเมื่อ
รางกายเกิดสภาวะขาดนํ้า (dehydration)
ฮอรโมนที่หลัง่ จากตอมไธรอยด
(thyroid gland)
► ไธรอกซิน (thyroxin) หรือ tetraiodothyronine
(T4 ) และ triiodothyronine (T3)
► Calcitonin (thyrocalcitonin)
ไธรอกซิน (thyroxin)
► เป็ นฮอรโมนที่สร้างมาจากกรดอะมิโนไทโรซีนกับไอโอดีน
► ควบคุมกระบวนการเมตาบอลิซม
ึ ของโภชนะ โดยเรงปฏิกิรย ิ า
oxidation ขั้นตางๆของ Kreb’s cycle ภายใน mitochondria
► ทํางานรวมกับ GH ในการควบคุมการเจริญเติบโตของ
รางกายให้เป็ นไปตามปกติ
► ควบคุมกระบวนการ metamorphosis ในสัตวครึง ่ บกครึง่ นํ้า
► ฮอรโมนไธรอกซินจะชวยทําให้ร้สึกกระฉับกระเฉง
กระบวนการ metamorphosis ในสัตวครึง่ บกครึง่ นํ้า
Calcitonin (thyrocalcitonin)
► เป็ นโปรตีนฮอรโมน
► สังเคราะหจากตอมไธรอยด โดยกลุมเซลล
parafollicular cell (C-cell)
► มีหน้าที่ลดระดับแคลเซียมในกระแสเลือด (รวม
ทั้งฟอสเฟตด้วย) โดยนําไปเก็บที่กระด้ก
► การสังเคราะหฮอรโมน calcitonin จะถ้กควบคุม
โดยระดับของแคลเซียมและฟอสเฟต (PO4-) ใน
กระแสเลือด และฮอรโมนจากตอมพาราไธรอยด
ฮอรโมนที่หลัง่ จากตอมพาราไธรอยด
(parathyroid gland)
► เปนโปรตีนฮอรโมน มีหน้าที่เพิ่มระดับ Ca2+ และ
ฟอสเฟตในกระแสเลือด
► การควบคุมการหลัง ่ ฮอรโมนเป็ นแบบ negative
feedback โดยเมื่อระดับ Ca2+ ในเลือดส้งขึ้นจะมี
ผลทําให้ตอมพาราไธรอยดหลัง่ PTH ลดน้อยลง
การควบคุมสมดุลของแคลเซียมโดย พาราไธ
รอยดฮอรโมน
ฮอรโมนที่ผลิตจากตับออน
(pancrease)
► เปนฮอรโมนประเภทโปรตีนฮอรโมน ผลิตที่เนื้ อ
เยื่อสวน islets of langerhans ของตับออน
- alpha cells ผลิตฮอรโมนกล้คากอน (glucagon)
- beta cells ซึ่งเปนเซลลที่พบมากที่สุดทําหน้าที่
ผลิตฮอรโมนอินซ้ลิน(Insulin)
- delta cells ผลิตฮอรโมนโซมาโตสแตติน
(somatostatin)
Insulin
► สร้างจากกลุม
 เบตาเซลล (β - cell) ซึง่ อย้บ ริเวณสานกลาง
ของของ Islet of Langerhans
► ทําหน้าที่ลดระดับกล้โคสในกระแสเลือดที่ส้งเกินกวาปกติ
► โดยนําไปเก็บสะสมไว้ในร้ปไกลโคเจนที่ตบ ั และกล้ามเนื้ อ
► ซึง
่ ถ้าหากกล้โคสมีมากเกินที่จะเก็บในร้ปไกลโคเจนก็จะนําไป
สังเคราะหเป็ นไขมันและเก็บที่เนื้ อเยื่อไขมัน (adipose
tissue)
► และยับยั้งการสลายตัวของไกลโคเจน
Glucagon
► เป็ นโปรตีนฮอรโมน สร้างจากแอลฟาเซลล (α -cell)
► α -cell เปนเซลลที่มีขนาดใหญและมีจํานวนน้อยกวาเบตา
เซล
► ทําหน้าทีเ่ พิ่มระดับของนํ้าตาลในเลือด
► กระตุ้นการสลายตัวของไกลโคเจนทีต ่ ับและกล้ามเนื้ อ
► หรือกระตุ้นให้เกิดขบวนการสร้างกล้โคสจากสารอื่น
(gluconeogenesis) ทีเ่ ซลลตับ
การควบคุมระดับกล้โคสใน
กระแสเลือด
Somatostatin
► เป็ น growth inhibiting hormone
► ทําหน้าที่เกี่ยวกับการยับยั้งหลัง
่ ของฮอรโมน GH
จากตอมใต้สมองสวนหน้า
► อีกทั้งยับยั้งการหลัง
่ ฮอรโมนอินซ้ลินและกล้คา
กอน
► ดังนั้นหากเกิดความผิดปกติกับ delta cells จะ
ทําให้เกิด hyperglycemia อาการคล้ายโรคเบา
หวาน (diabetes meletis)
ฮอรโมนทีผ
่ ลิตจากตอมหมวกไต (adrenal
glands)
► ตอมหมวกไตแบงบอกเป็ น 2 สวน
 ตอมหมวกไตชั้นนอก (adrenal cortex)
 ตอมหมวกไตชั้นใน (adrenal medulla)
ตอมหมวกไตชั้นนอก (adrenal
cortex)
► มีตน
้ กําเนิ ดมาจากเนื้ อเยื่อชั้น mesoderm ถ้ก
ควบคุมโดย ACTH แบงเป็ น 3 ชั้นคือ
1. zona glomerulosa สังเคราะหฮอรโมนกลม

mineralocorticoid คือ
 อัลโดสเตอโรน (aldosterone) เปนสเตอรอยดฮอรโม
นทําหน้าที่ควบคุมการด้ดกลับของ Na+ ที่หลอดไต
 การหลัง่ ฮอรโมน aldosterone เกิดจากสภาวะที่เลือด
มีความดันตํา่ เนื่ องจากการขาดนํ้า หรือการมี Na+ ลด
ลงในเลือด
2. zona fasciculata สังเคราะหฮอรโมนกลม
ุ กล้โคอรตค
ิ อยด คือ
 คอรติซอล (cortisol) มีหน้าที่ลดการใช้กล้โคสภายในเซลล
 กระตุ้นการสลายไขมัน และเพิม ่ การสลายตัวของโปรตีนในเซลล เพื่อ
ทําให้รางกายเตรียมพร้อมตอการปรับตัวเมื่อเกิดสภาวะเครียด
 นอกจากนี้ ยังมีผลทางการรักษาสมดุลเกลือแรด้วย
2. zona reticularis สร้างพวกฮอรโมนเพศ
 สวนใหญเป็ นฮอรโมนเพศชาย (Testosterone) ฮอรโมนเพศหญิงมีน้อ
ยมาก (Estrogen)
 แตฮอรโมนทีส
่ ร้างได้น้อยกวาเมื่อเทียบกับทีส
่ ร้างจากรังไขหรืออัณฑะ
ตอมหมวกไตชั้นใน (adrenal
medulla)
► การทํางานของตอมหมวกไตชั้นในมีความสัมพันธ
กับระบบประสาทอัตโนมัติ (sympathetic)
► การหลัง่ ฮอรโมนจากตอมหมวกไตสวนนี้ จะอย้ภาย
ใต้การควบคุมของไฮโพทาลามัส
► ตอมหมวกไตชั้นในสร้างฮอรโมนกลุมที่เรียกวา
cathecholamine คือ Epinephrine (adrenaline) ~
80 % และ Norepinephrine (noradrenaline)
อะดรีนาลิน (Adrenalin hormone)
► หรือ อิพิเนฟริน (Epinephrine hormone)
► มีหน้าที่กระต้นุ ให้้ไกลโคเจนในตับสลายตัวเป็ น
กล้โคส ทําให้ระดับกล้โคสในเลือดเพิ่มส้งขึ้น
► กระตุ้นหัวใจให้เต้นเร็วขึ้น ความดันเลือดส้งขึ้น
ทําให้เมทาบอลิซม ึ เพิ่มขึ้นมาก
► ซึ่งเป็ นฮอรโมนที่หลัง่ ออกมาเมื่อรางกายอย้ใน
สภาวะฉุกเฉิน
นอรอะดรีนาลิน (Noradrenalin
hormone)
► หรือนอรเอพิเนฟรินฮอรโมน (Norepinephrin
hormone)
► ทําให้้ความดันเลือดส้งขึ้น
► ทําให้้หลอดเลือดที่ไปเลี้ยงอวัยวะตางๆ บีบตัว
ฮอรโมนจากตอมไพเนี ยล (pineal
gland)
► ตอมไพเนี ยลอย้บริเวณกึ่งกลางของสมองสวน
cerebrum
► ในสัตวเลี้ยงล้กด้วยนมตอมไพเนี ยลเป็ น
neuroendocrine gland โดยประสาทที่มาเลี้ยงมีท้ ัง
parasympathetic และ sympathetic
► ฮอรโมนที่สร้างจากตอมไพเนี ยล คือ Melatonin
Pineal gland
Melatonin
► ทำาหน้าทีเ่ กีย
่ วกับการควบคุมการเจริญเติบโตของอวัยวะสืบพันธ์ุ
► ทำางานตรงกันข้ามกับฮอร์โมน melanocyte stimulating hormone
จากต่อมใต้สมองส่วนกลาง โดยทำาให้สีของสัตว์เลื  เลือดเย็นจางลง
► ระงับการหลัง ่ ของฮอร์โมนกล่ม ุ gonadotropin ให้น้อยลง
► หากขาดฮอร์โมน melatonin จะทำาให้หนุ่มเร็วกว่าปกติ แต่ถ้าสร้าง
มากเกินไปจะทำาให้เป็ นหนุ่มเป็ นสาวช้ากว่าปกติ
► นอกจากนีย ้ ังทำาหน้าทีเ่ ป็ นนาฬิกาชีวิต (clock of life) ควบคุมการ
หลับการตืน
่ อีกด้วย
ฮอรโมนที่หลัง่ จากตอมเพศ (Gonad)
► แบงออกเป็ น 2 กลุมคือ ฮอรโมนจากอวัยวะเพศ
ชาย (Testes) และฮอรโมนจากอวัยวะเพศหญิง
(ovary)
ฮอรโมนจากอวัยวะเพศชาย (Testes)
► อัณฑะมีกลม
ุ เซลลที่ทําหน้าที่ในการสร้างฮอรโมนคือ interstitial cell
ซึ่งอย้ระหวางหลอดสร้างอสุจิ (seminiferous tubule)
► โดยเมื่อถ้กกระต้นุ โดย LH จะสร้างฮอรโมนแอนโดรเจน (androgen) ที่
สําคัญที่สุดคือ เทสโทสเตอโรน (Testosterone)
► Testosterone จะหลัง ่ ออกมามากในชวงการพัฒนาของตัวออน และจะ
ลดลงเหลือน้อยมากในชวงวัยเด็กแตจะเพิ่มขึ้นส้งมากในชวงวัยหนม

สาว
► ทําหน้าทีค่ วบคุมการเจริญเติบโตของอวัยวะสืบพันธุ และควบคุม
ลักษณะความเป็ นเพศชาย กระต้น ุ การสร้าง sperm
อัณฑะ (Testes)
รังไข (Ovary)
Estrogens
► เป็ นฮอรโมนประเภทสเตียรอยด
► ซึ่งพบวาในระหวางการพัฒนาของ follicles เซลลที่อย้ใน
graafian follicles คือ granulose cells และ theca cells
► ฮอรโมนที่สร้างคือ estrogens ได้แก  -estradiol, estriol และ
์ รงที่สุดในกลุม
estrone ซึ่ง  -estradiol มีฤทธิแ
► ฮอรโมน estrogens มีผลตอการพัฒนาของเพศเมีย และกระตุ้น
การพัฒนาของตอมนํ้านม
► estrogens จะส้งมากในชวงวัยสาวหรือชวงเป็ นสัด (heat)
Progesterone
►เป็ นฮอรโมนประเภทสเตียรอยด ผลิตโดย คอรปสล้
เทียม (corpus luteum)
 กระตุ้นการคัดหลัง่ ของสารที่ผนังมดล้ก (endometrium)
เพื่อเตรียมพร้อมในการฝั งตัวของไข
 กระตุ้นการเจริญของตอมนํ้านม
 รักษาสภาพการตั้งท้อง
►corpus luteum ถ้กสลายโดยฮอรโมน PGF2α
►Relaxin เป็ นโปรตีนฮอรโมนสร้างมาจากรังไข
ขณะทีต ่ ้ งั ท้อง มีหน้าทีก
่ ระต้น
ุ การคลายตัวของเอ็น
ที่ยึดกระด้กเชิงกราน เพื่อให้คลอดล้กได้งา ยขึ้น

►PGF2α เป็ นอนุพันธของกรดไขมัน สามารถ


สร้างได้จาก granular cell หลายแหง มีหน้าที่
ทําให้ follicle แตกปริในชวงตกไข และเกีย
่ วข้อง
กับการสลายตัวของ corpus luteum (luteolysis)
ฮอรโมนจากมดล้ก (Uterus)
► มดล้กสร้างฮอรโมนที่สําคัญคือ prostaglandins
► พบครั้งแรกใน accessory gland โดยเฉพาะ
prostate gland ตอมาพบทัว่ รางกาย มีอายุส้ ันถ้ก
ทําลายเมื่อผานตับและไต
► มีหน้าที่เกี่ยวกับการบีบตัวของกล้ามเนื้ อเรียบใน
ระบบสืบพันธุและระบบทางเดินอาหาร การหลัง่ นํ้า
อสุจิ การสลาย corpus luteum (luteolysis)
ฮอรโมนจากรก (placental hormone)
► รกของสัตวสามารถสร้างฮอรโมนได้หลายชนิ ดเชน
 Pregnant Mare Serum Gonadotropin
(PMSG)
 Human Chorionic Gonadotropin (HCG)
Pregnant Mare Serum
Gonadotropin (PMSG)
► เป็ นไกลโคโปรตีนโดยฮอรโมนนี้ ถือวาเป็ น placental
gonadotropin
► ผลิตจากม้า ที่ระยะ 40-85 วัน ของการตั้งท้อง
► โดยธรรมชาติแล้วฮอรโมนนี้ จะทําหน้าที่กระตุ้นการ
พัฒนาของ follicles โดยมีฤทธิห์ ลักคล้ายกับ FSH
► พบในเลือดแตไมพบในปั สสาวะ ใช้ในการกระตุ้นการ
์ าวนาน 1
ตกไข ฉีดในระดับทีเ่ หมาะสม 1 ครั้งมีฤทธิย
สัปดาห
Human Chorionic Gonadotropin
(HCG)
► เป็ นไกลโคโปรตีนฮอรโมนผลิตโดย syncytiotro
blastic cells ของรกในสัตวกลุม primate
► พบทั้งในเลือดและปั สสาวะ
► ตรวจพบได้นับจากวันที่ 8 หลังจากการผสมติด
► มีฤทธิค์ ล้าย LH ใช้ในการเหนี่ ยวนําการเป็ นสัด
และกระตุ้นการตกไข
ฮอรโมนจากตอมไทมัส (Thymus
gland)
► ตอมไทมัส มีลักษณะเป็ นพ้ 2 พ้ อย้บริเวณทรวงอกรอบ
หลอดเลือดใหญข  องหัวใจ (บริเวณขั้วหัวใจ)
► ตอมนี้ จะเจริญตั้งแตอย้ในครรภมารดาและเมื่อมีอายุมากขึ้น
จะมีขนาดเล็กลงและฝ อไปเรื่อย ๆ
► ตอมนี้ สร้างฮอรโมนไทโมซิน (Thymosin)
► ฮอรโมนไทโมซิน มีหน้าที่กระตุน ้ ให้เนื้ อเยื่อตอมไทมัสสร้าง
ลิมโฟไซตชนิ ดเซลลที (T-lymphocyte) หรือเซลลที(T-cell)(T-cell)
ฮอรโมนจากระบบทางเดินอาหาร

►แกสตริน (Gastrin)
►ซีครีติน (Secretin)
►โคเลซีสโตไคนิ น
(Cholecystokinin;CCK) หรือ แพนคลี
โอไซมิน (pancreozymin)
►เอนเทอโรแกสโตรน (Enterogastron)
แกสตริน (Gastrin)
► สร้างจากเนื้ อเยื่อชั้นในของกระเพาะอาหาร
► มีหน้าที่กระต้น
ุ ให้ parietal cell หลัง่ กรดไฮโดร
คลอริก
► มีหน้าที่กระตุ้นให้ chief cell หลัง
่ เอนไซม
pepsinogen
ซีครีตริน (Secretin)
► สร้างมาจากเนื้ อเยื่อชั้นในของลําไส้เล็กบริเวณด้โอ
ดีนัม
► ทําหน้าที่กระตุน
้ ให้ตับออนหลัง่ สาร ไบคารบอเนต
► สนับสนุนการทํางานของเอนไซม CCK
โคเลซีสโตไคนิ น
(Cholecystokinin;CCK)
► สร้างมาจากลําไส้เล็ก
► มีหน้าที่กระต้น
ุ การสร้างและหลัง่ นํ้ายอยจากตับ
ออน
► และกระตุ้นการหดตัวของถุงนํ้าดี
เอนเทอโรแกสโตรน (Enterogastron)
► สร้างมาจากลําไส้เล็ก
► ทําหน้าที่ลดการเคลื่อนไหวของกระเพาะอาหาร
► ทําให้อาหารผานลําไส้เล็กช้าลง โดยเฉพาะอาหาร
พวกไขมัน
► ยังยับยั้งการขับนํ้ายอยของกระเพาะอาหาร
การทำางานของฮอร์โมนใน
ระบบทางเดินอาหาร

Вам также может понравиться