Вы находитесь на странице: 1из 21

เอกสารประกอบการสอน วิชา ฟิ สิ กส์ทวั่ ไป 1 รหัสวิชา 2304107

โดย อาจารย์ ดร. สตรี รัตน์ โฮดัค ภาควิชาฟิ สิ กส์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

การแกว่ ง (Oscillation)
• การแกว่งเป็ นการเคลื่อนที่กลับไปกลับมาบนเส้นทางเดิม เรี ยกว่าการเคลื่อนที่ ที่มี
คาบ(Period)
• การเคลื่อนที่แบบซิมเปิ ลฮาร์โมนิก (Simple Harmonic Motion , SHM) เป็ นการแกว่งอย่าง
ง่ายที่ไม่คิดแรงเสี ยดทานใด ๆ

รู ปที่ 1 สาธิตการทดลองซิมเปิ ลฮาร์โมนิก


รู ปที่ 1 เป็ นการสาธิตการทดลองซิมเปิ ลฮาร์โมนิก เมื่อปล่อยให้ลูกตุม้ มวล m ห้อยติดอยูก่ บั สปริ ง
สัน่ ขึ้น-ลง เส้นทางของปากกาซึ่ งติด อยูก่ บั ลูกตุม้ เขียนไว้บนกระดาษที่เคลื่อนที่ (ดู Motion of
paper ในรู ปที่ 1) จะมีลกั ษณะแบบไซน์ (sinusoidal) หรื อกล่าวได้วา่ การขจัดจะเปลี่ยนแปลงขึ้นกับ
เวลา มีลกั ษณะแบบไซน์

+A x
+
-A
A
t
-
รู ปที่ 2 การขจัดที่
A เปลี่ยนแปลงตามเวลามี
ลักษณะแบบไซน์

1
เอกสารประกอบการสอน วิชา ฟิ สิ กส์ทวั่ ไป 1 รหัสวิชา 2304107
โดย อาจารย์ ดร. สตรี รัตน์ โฮดัค ภาควิชาฟิ สิ กส์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

รู ปที่ 2 แสดงการขจัดที่เปลี่ยนแปลงตามเวลามีลกั ษณะแบบไซน์ของสปริ งเคลื่อนที่สัน่ ขึ้น-ลง


การขจัดอยูร่ ะหว่าง –A กับ +A นัน่ คือขนาดของแอมปลิจูดเท่ากับ A และจุดสมดุล คือ
เมื่อ x = 0

เราจะพิจารณาการแกว่งใน 1 มิติของซิมเปิ ลฮาร์โมนิก ให้อยูใ่ นรู ปของสมการของการขจัด (x) ที่


ขึ้นกับเวลา (t) เรี ยกว่าสมการการเคลื่อนที่ (Equation of motion) เขียนได้เป็ น

(1)
x(t )  A sin(t   )

เมื่อ ระยะขจัด (Displacement) ของวัตถุจากจุดสมดุล (มีหน่วยเป็ น m)


x
A แอมปลิจูด (Amplitude) หรื อระยะขจัดสู งสุ ด (มีหน่วยเป็ น m)
 ความถี่เชิงมุม (Angular frequency) (มีหน่วยเป็ น radian/s)
 ค่าคงที่เฟส (Phase constant) (มีหน่วยเป็ น radian)

ความเร็ วของวัตถุหรื อตัวแกว่ง สามารถหาได้จากอนุพนั ธ์ของ x เทียบกับเวลา t

dx d
v  A cos(t   ) (t   )
dt dt
(2)
v(t )   A cos(t   )
ความเร่งของวัตถุหรื อตัวแกว่ง สามารถหาได้จากอนุพนั ธ์ของ v เทียบกับเวลา t

dv
a   A(1) sin(t   )( )
dt
(3)
a(t )   A sin(t   )
2

2
เอกสารประกอบการสอน วิชา ฟิ สิ กส์ทวั่ ไป 1 รหัสวิชา 2304107
โดย อาจารย์ ดร. สตรี รัตน์ โฮดัค ภาควิชาฟิ สิ กส์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
หรื อเขียนอีกแบบหนึ่ง

(4)
a (t )   2 x(t )
เรี ยกสมการนี้วา่ สมการความเร่ งของการเคลื่อนที่แบบซิ มเปิ ลฮาร์โมนิค

เราจะเห็นรู ปแบบของสมการนี้ ในเคลื่อนที่แบบซิ มเปิ ลฮาร์โมนิคในทุกกรณี จะต่างกันตรงที่คา่ 


ที่ข้ ึนกับตัวแปรที่ต่างกันไปในแต่ละกรณี เราจะเห็นการพิสูจน์หา  ในการเคลื่อนที่แบบซิ
มเปิ ลฮาร์โมนิค 4 กรณี ต่อไปนี้

1.การเคลื่อนที่ของมวลที่ติดกับสปริ ง

2. ลูกตุม้ อย่างง่าย (Simple Pendulum)

3. ลูกตุม้ ชนิดบิด (Torsion Pendulum)

4. ลูกตุม้ ฟิ สิ กลั (Physical Pendulum)

1. การเคลือ่ นที่ของมวลที่ติดกับสปริง

รู ปที่ 3 การเคลื่อนที่ของมวลที่ติดกับสปริ งบนพื้นที่ไม่มีแรงเสี ยดทาน


แรงเนื่องจากสปริ งเป็ นไปตามกฎของฮุค (Hooke’s Law)

3
เอกสารประกอบการสอน วิชา ฟิ สิ กส์ทวั่ ไป 1 รหัสวิชา 2304107
โดย อาจารย์ ดร. สตรี รัตน์ โฮดัค ภาควิชาฟิ สิ กส์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

F   kx
(5)
โดยที่ k เป็ นค่าคงที่ของสปริ ง
F เป็ นแรงดึงกลับของสปริ ง
x เป็ นระยะยืดหรื อหดจากตำแหน่งสมดุล (x = 0)

จากกฎของนิวตัน สำหรับการเคลื่อนที่แนวเส้นตรง

(6)
F  ma
โดยที่ m เป็ นมวลที่ติดอยูก่ บั สปริ ง
a เป็ นความเร่ ง หรื อ เขียนในรู ปอนุพนั ธ์กำลังสองของ x
(7)
2
dv d x
a 
dt dt 2
d 2x
จากสมการ (5) และ (6) เขียนได้เป็ น m 2   kx เมื่อหารด้วย m ทั้งสองข้างของ
dt
สมการจะได้

(8)
2
d x k
2
  x
dt m

สังเกตว่ารู ปแบบของสมการ เป็ นไปตามสมการความเร่ งของซิ มเปิ ลฮาร์โมนิค (ดูสมการที่ 4)


โดยที่
(9)
k k
2  
m m

หรื อเขียนสมการ ใหม่ได้ดงั นี้

4
เอกสารประกอบการสอน วิชา ฟิ สิ กส์ทวั่ ไป 1 รหัสวิชา 2304107
โดย อาจารย์ ดร. สตรี รัตน์ โฮดัค ภาควิชาฟิ สิ กส์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

d 2x
2
  2
x
dt
(10)

สำหรับคาบ หาได้จาก
2
T

(11)

เมื่อแทนค่า  จากสมการที่ (9) ลงไปในสมการที่ (11) จะได้


m
T  2
k
(12)

ความถี่ หาได้จากส่ วนกลับของคาบ


(13)
1 
f  
T 2
เมื่อแทนค่า  จากสมการที่ (9) ลงไปในสมการที่ (13) จะได้

(14)
1 k
f 
2 m

ถ้าย้อนกลับไปสมการที่ (8) ซึ่ งเป็ นสมการแสดงการเคลื่อนที่สำหรับวัตถุติดกับสปริ ง


d 2x k
2
  x
dt m
เราจะหาคำตอบของสมการการเคลื่อนที่ในรู ปแบบของอนุพนั ธ์กำลังสองของการขจัด เมื่อ
สมการอยูใ่ นรู ปของอนุพนั ธ์กำลังสองของตัวมันเอง แล้วได้ตวั มันเองคูณกับค่าคงที่พร้อมกับ

5
เอกสารประกอบการสอน วิชา ฟิ สิ กส์ทวั่ ไป 1 รหัสวิชา 2304107
โดย อาจารย์ ดร. สตรี รัตน์ โฮดัค ภาควิชาฟิ สิ กส์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เครื่ องหมายลบ (-) นักฟิ สิ กส์มกั จะสมมติคำตอบอยูใ่ นรู ปของ sin หรื อ cosine โดยที่มีคา่
คงที่ 2 ตัว ในที่น้ ี คือ แอมปลิจูด A และ ค่าคงที่เฟส  (ปกติค่าคงที่ท้ งั สองจะทราบจาก
เงื่อนไขเริ่ มต้น ซึ่ งจะได้เห็นในตัวอย่าง) เพราะฉะนั้น เราจะสมมติให้สมการข้างล่างเป็ นคำตอบ
ของสมการที่ (8)

(15)
x(t )  A sin(t   )
อนุพนั ธ์ของ v เทียบกับเวลา t
dx
  A cos(t   )
dt
(16)
อนุพนั ธ์ของ v เทียบกับเวลา t
(17)
d2x
2
  2
A sin(t   )
dt
หรื อ

(18)
2
d x
2
  2
x
dt
k
จะเป็ นจริ งได้ ก็ต่อเมื่อ 2  เพราะฉะนั้นคำตอบของสมการคือ
m
k
x(t )  A sin( t  )
m
(19)

กราฟความสัมพันธ์ระหว่าง x กับ t เมื่อ x (0)=


A ที่ t = 0 แสดงดังรู ป (A)

6
เอกสารประกอบการสอน วิชา ฟิ สิ กส์ทวั่ ไป 1 รหัสวิชา 2304107
โดย อาจารย์ ดร. สตรี รัตน์ โฮดัค ภาควิชาฟิ สิ กส์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

(A) x vs. t

(B) v vs. t

(C) a vs. t

เงื่อนไขเริ่ มต้นที่เวลาเริ่ มต้น t = 0 การขจัดที่เวลาเริ่ มต้น เท่ากับแอมปลิจูด x (0)= A



x (t )  A sin(t  )
2
หรื อ
x(t )  A cos(t )

หาความเร็ วได้จากอนุพนั ธ์ของการขจัดเทียบกับเวลา


v (t )   A sin(t )
ดังนั้นความเร็วที่เวลาเริ่ มต้น v (0) = 0
แอมปลิจูดหรื อการขจัดสูงสุ ด v   Amax

กราฟความสัมพันธ์ระหว่าง v กับ t เมื่อ x (0)= A ที่ t = 0 แสดงดังรู ป (B)

หาความเร่ งได้จากอนุพนั ธ์ของความเร็วเทียบกับเวลา


a (t )   A 2 cos(t )
ดังนั้นความเร่ งที่เวลาเริ่ มต้น a (0) =  Aw 2
แอมปลิจูดหรื อการขจัดสูงสุ ด a max   A 2
กราฟความสัมพันธ์ระหว่าง a กับ t เมื่อ x (0)= A ที่ t = 0 แสดงดังรู ป (C)

ถ้าเปลี่ยนเงื่อนไขที่เวลาเริ่ มต้น จะได้กราฟที่ไม่เหมือนกัน ดังนี้


กราฟความสัมพันธ์ระหว่าง x กับ t เมื่อ x (0)= 0 ที่ t = 0 แสดงดังรู ป (D)

(D) x vs. t

(E) v vs. t

7
เอกสารประกอบการสอน วิชา ฟิ สิ กส์ทวั่ ไป 1 รหัสวิชา 2304107
โดย อาจารย์ ดร. สตรี รัตน์ โฮดัค ภาควิชาฟิ สิ กส์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
(A) x vs. t

(A) x vs. t (F) a vs. t

เงื่อนไขเริ่ มต้นที่เวลาเริ่ มต้น t = 0 การขจัดที่เวลาเริ่ มต้น เท่ากับศูนย์ x (0)= 0


x(t )  A sin(t )

หาความเร็ วได้จากอนุพนั ธ์ของการขจัดเทียบกับเวลา


v (t )  A cos(t )
ดังนั้นความเร็วที่เวลาเริ่ มต้น v (0) = A
แอมปลิจูดหรื อการขจัดสูงสุ ด v   A
max

กราฟความสัมพันธ์ระหว่าง v กับ t เมื่อ x (0)= 0 ที่ t = 0 แสดงดังรู ป (E)

หาความเร่ งได้จากอนุพนั ธ์ของความเร็วเทียบกับเวลา


a(t )   A 2 sin(t )
ดังนั้นความเร่ งที่เวลาเริ่ มต้น a (0) = 0
แอมปลิจูดหรื อการขจัดสูงสุ ด a max   A 2
กราฟความสัมพันธ์ระหว่าง a กับ t เมื่อ x (0)= 0 ที่ t = 0 แสดงดังรู ป (F)

* ข้อสังเกต* สมการการเคลื่อนที่ของทั้งสองกรณี ที่เงื่อนไขเริ่ มต้นต่างกันจะต่างกันที่ค่าคงที่เฟส

ตัวอย่าง จงหาการขจัดที่เวลา t ใด ๆ ของมวล 100 กรัม ที่ติดกับสปริ ง ( k = 40 N/m)


โดยที่เวลาเริ่ มต้นมวลนี้ถูกดึงไปเป็ นระยะ 0.2 เมตร แล้วปล่อยให้สนั่ จากจุดหยุดนิ่งบนพื้นที่ไม่มี
แรงเสี ยดทาน

k
เริ่ มต้นจากสมการ x(t )  A sin( t )
m

แทนค่า k = 40 N/m และ m = 100 กรัม ในสมการ

40 N / m
x(t )  0.2 m sin( t )
100 103 kg

x(t )  0.2 m sin(20t   )

8
เอกสารประกอบการสอน วิชา ฟิ สิ กส์ทวั่ ไป 1 รหัสวิชา 2304107
โดย อาจารย์ ดร. สตรี รัตน์ โฮดัค ภาควิชาฟิ สิ กส์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ตอนนี้ เหลือแต่ค่า  ที่จะต้องหาจากเงื่อนไขเริ่ มต้น นัน่ คือ การขจัดที่เวลาเริ่ มต้น
x(t  0)  0.2 m

x(t  0)  0.2 m  0.2 m sin(20  0   )


x(t  0)  0.2 m  0.2 m sin( )

นัน่ คือ   ดังนั้น สมการการเคลื่อนที่ของระบบนี้ จะเขียนได้สองแบบ
2

x(t )  0.2 m sin(20t  )
2
x(t )  0.2 m cos(20t )

พลังงานของมวลที่ติดกับสปริง
เราจะสมมติให้ไม่มีแรงเสี ยดทานใด ๆ มาเกี่ยวข้องกับการเคลื่อนที่ของสปริ ง เราจะเริ่ มจากการ
หาพลังงานจลน์จากความเร็ วดังนี้

v(t )   A cos(t   )
v 2   2 A2 (1  sin 2 (t   ))
v 2   2 ( A2  x 2 )
พลังงานจลน์

1 2 1
T mv  m 2 ( A2  x 2 )
2 2

พลังงานศักย์

1 2 1
U kx  m 2 x 2 (t )
2 2
พลังงานกล ได้จากพลังงานจลน์รวมกับพลังงานศักย์

9
เอกสารประกอบการสอน วิชา ฟิ สิ กส์ทวั่ ไป 1 รหัสวิชา 2304107
โดย อาจารย์ ดร. สตรี รัตน์ โฮดัค ภาควิชาฟิ สิ กส์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
1 1
E  T U  m 2 A2  kA2
2 2

T, U

รู ปที่ 4 กราฟระหว่างพลังงานศักย์ (U) พลังงานจลน์ (T) และการขจัด (x)

สังเกตว่า พลังงานศักย์จะเป็ นรู ปพาราโบลาหงาย และ พลังงานจลน์จะเป็ นรู ปพาราโบลาคว่ำ

 พลังงานกลคงที่ และแปรผันตรงกับกำลังสองของแอมปลิจูด
 พลังงานจะเปลี่ยนแปลงรู ประหว่างพลังงานศักย์ในสปริ งและพลังงานจลน์ที่เกิดจากการ
เคลื่อนที่ของวัตถุที่ติดอยูก่ บั สปริ ง

10
เอกสารประกอบการสอน วิชา ฟิ สิ กส์ทวั่ ไป 1 รหัสวิชา 2304107
โดย อาจารย์ ดร. สตรี รัตน์ โฮดัค ภาควิชาฟิ สิ กส์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

2. การแกว่งของลูกตุ้มอย่างง่ าย (Simple pendulum)

ประกอบด้วยลูกตุม้ มวลขนาดเล็ก ผูกกับเชือกเบา เมื่อดึงลูกตุม้ ให้ทำมุมเล็ก ๆ (น้อยกว่า 5


องศา) กับแนวดิ่ง แล้วปล่อยให้มวลเคลื่อนที่กลับไปมา เราจะพิสูจน์วา่ เป็ นการเคลื่อนที่แบบซิ
มเปิ ลฮาร์-โมนิค

L
T
d m

mg sin 
mเ mg cos 
gg
mg
รู ปที่ 5 การแกว่งของลูกตุม้ อย่างง่าย

จากกฎของนิวตัน
(20)
2
d S
F  ma  m
dt 2
a เป็ นความเร่ ง หรื อ เขียนในรู ปอนุพนั ธ์กำลังสองของ s เมื่อ s เป็ นการขจัดที่วดั ตามแนว
โค้งและเขียนได้ในรู ปของความยาวเชือก L และมุม  ดังนี้

(21)
S  L

แทนสมการ(21) ลงในสมการ (20)

11
เอกสารประกอบการสอน วิชา ฟิ สิ กส์ทวั่ ไป 1 รหัสวิชา 2304107
โดย อาจารย์ ดร. สตรี รัตน์ โฮดัค ภาควิชาฟิ สิ กส์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
(22)
d 2
F  mL 2
dt

จากรู ปแรง mg สามารถแยกออกเป็ นสองแรงที่ต้ งั ฉากกัน โดยแรง mg sin  เป็ นแรงที่ดึงมวล
กลับสู่ ตำแหน่งสมดุล และแรง mg cos  เท่ากับแรงตึงเชือก T ซึ่ งทำให้เชือกมีความยาวเท่าเดิม
ไม่มีการเคลื่อนที่ในแนวเดียวกับความยาวเชือก

(23)
F   mg sin 
สมการ(21) แทนลงในสมการ (23)

(24)
d 2
g
  sin 
dt 2 L
เมื่อมุม  เป็ นมุมเล็ก ๆ สามารถประมาณได้วา่
(25)
sin  : 
แทนในสมการจะได้ สมการการเคลื่อนที่ของการแกว่งลูกตุม้ อย่างง่าย
(26)
d 2
g
  
dt 2 L

สังเกตว่าสมการ (26) มีรูปแบบคล้ายกับสมการความเร่ ง สมการที่ (4) โดยที่  เป็ นการขจัด และ


g
2 
L
โดยที่คำตอบของสมการ(26) คือ
 (t )   0 sin(t   )
เมื่อ  ระยะขจัด (Displacement) ของวัตถุจากจุดสมดุล (มีหน่วยเป็ นเรเดียน radian หรื อองศา)
 0 แอมปลิจูด (Amplitude) หรื อระยะขจัดสู งสุ ด (มีหน่วยเป็ นเรเดียน radian หรื อองศา)
 ความถี่เชิงมุม (Angular frequency) (มีหน่วยเป็ น radian/s)

12
เอกสารประกอบการสอน วิชา ฟิ สิ กส์ทวั่ ไป 1 รหัสวิชา 2304107
โดย อาจารย์ ดร. สตรี รัตน์ โฮดัค ภาควิชาฟิ สิ กส์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
 ค่าคงที่เฟส (Phase constant) (มีหน่วยเป็ น radian)

สำหรับคาบ หาได้จาก
(27)
2
T

เมื่อแทนค่า  จากสมการที่ (9) ลงไปในสมการที่ (11) จะได้

(28)
L
T  2
g

ความถี่ หาได้จากส่ วนกลับของคาบ


1 
f  
T 2
(29)

เมื่อแทนค่า  จากสมการที่ (28) ลงไปในสมการที่ (29) จะได้

(30)
1 g
f 
2 L

ข้อสังเกต* 1. การทดลองลูกตุม้ อย่างง่ายสามารถทำการวัดค่า g ของโลกได้


2. ถ้ามุมการแกว่งกว้าง จะไม่ถือว่าเป็ นการแกว่งแบบซิ มเปิ ลฮาร์ โมนิ ค บางครั้งถ้ามุมการ
l 1
แกว่งไม่กว้างเกินไป สามารถประมาณคาบได้เท่ากับ T  2
g
(1 
16
02 )

13
เอกสารประกอบการสอน วิชา ฟิ สิ กส์ทวั่ ไป 1 รหัสวิชา 2304107
โดย อาจารย์ ดร. สตรี รัตน์ โฮดัค ภาควิชาฟิ สิ กส์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

3. ลูกตุ้มชนิดบิด (Torsion Pendulum)

รู ปที่ 7 ลูกตุม้ ชนิดบิด

ลูกตุม้ ชนิดบิด ประกอบด้วยแป้ น ตรึ งอยูก่ บั ลวดโลหะ จุดศูนย์กลาง O ติดอยูท่ ี่ปลายข้างหนึ่ง


ของลวดโลหะ เมื่อบิดให้แป้ นเป็ นมุม  maxจากจุด O แล้วปล่อยให้บิดไปมารอบแนว OP
ลวดที่แขวนจะบิดไปด้วย ทำให้เกิดทอร์คกระทำต่อแป้ น เรี ยกว่า ทอร์คคืนตัว (restoring
torque) และทอร์คนี้จะพยายามดึงให้แป้ นกลับสู่ ตำแหน่งสมดุล
ถ้ามุม  เล็ก ๆ ทอร์คคืนตัวจะเขียนได้
max

   (31)

และจากนิยามของทอร์ค
d 2
  I  I (32)
dt 2
เมื่อ I เป็ นโมเมนต์ความเฉื่อย

14
เอกสารประกอบการสอน วิชา ฟิ สิ กส์ทวั่ ไป 1 รหัสวิชา 2304107
โดย อาจารย์ ดร. สตรี รัตน์ โฮดัค ภาควิชาฟิ สิ กส์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
d 2
I 2   (33)
dt

d 2
   0 (34)
dt 2


 (35)
I

2 
T   2 (36)
 I

15
เอกสารประกอบการสอน วิชา ฟิ สิ กส์ทวั่ ไป 1 รหัสวิชา 2304107
โดย อาจารย์ ดร. สตรี รัตน์ โฮดัค ภาควิชาฟิ สิ กส์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

4. ลูกตุ้มฟิ สิกลั (Physical Pendulum)

รู ปที่ 8 ลูกตุม้ ฟิ สิ กลั

ลูกตุม้ ฟิ สิ กลั ประกอบด้วยวัตถุเกร็ งที่แกว่งรอบแกนราบอันหนึ่ง จากรู ป จุด CM คือศูนย์กลาง


มวลห่างจากจุดหมุนเป็ นระยะ dsin  และทำมุม  กับแนวดิ่ง
ทอร์คที่กระทำกับวัตถุในทิศที่ให้วตั ถุดึงกลับ คือ
   mgd sin  (37)

และจากนิยามของทอร์ค
d 2
  I  I (38)
dt 2
เมื่อ I เป็ นโมเมนต์ความเฉื่อย
จากสมการ จะได้
d 2
I  mgd sin  (39)
dt 2

ย้ายข้างจะได้
d 2 mgd sin 
 0 (40)
dt 2 I

16
เอกสารประกอบการสอน วิชา ฟิ สิ กส์ทวั่ ไป 1 รหัสวิชา 2304107
โดย อาจารย์ ดร. สตรี รัตน์ โฮดัค ภาควิชาฟิ สิ กส์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

เมื่อ  เป็ นมุมเล็ก ๆ sin   


จะได้สมการการเคลื่อนที่ของซิมเปิ ลฮาร์โมนิค

d 2 mgd
  0 (41)
dt 2 I

d 2  mgd 
       (42)
2
2 
dt  I 

mgd
 (43)
I

2 I (44)
T  2
 mgd

*โจทย์น่าคิด*

ถ้าวัตถุเกร็ งเป็ นไม้เมตร ทำการเจาะรู ที่ปลายสุ ดของไม้เมตรด้านหนึ่งเพื่อทำการแกว่ง จงหาคาบของการแกว่ง


กำหนดให้ไม้เมตรมีความยาว L มวล M และค่าโมเมนต์ความเฉื่ อยของไม้เมตรรอบแกนที่ผา่ น
1
จุดศูนย์กลางมวล, I CM 
12
ML2 เมื่อให้ไม้เมตรนี้ มีความกว้างน้อยกว่าความยาวมาก ๆ

17
เอกสารประกอบการสอน วิชา ฟิ สิ กส์ทวั่ ไป 1 รหัสวิชา 2304107
โดย อาจารย์ ดร. สตรี รัตน์ โฮดัค ภาควิชาฟิ สิ กส์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
การแกว่ งที่ถูกหน่ วง (Damped simple harmonic motion)

การแกว่งที่ถูกหน่วง เป็ นการแกว่งที่มีแรงเสี ยดทานเข้ามาเกี่ยวข้องทำให้มีการสู ญเสี ยพลังงานให้


กับสิ่ งแวดล้อม เช่น สูญเสี ยไปในรู ปความร้อน เป็ นต้น ผลทำให้พลังงานรวมลดลง นัน่ คือจาก
สมการ แอมปลิจูดก็ลดลงด้วยจนกระทัง่ เป็ นศูนย์ในที่สุด

รู ปที่ 9 การแกว่งที่ถูกหน่วง มวลห้อยกับสปริ งสัน่ ขึ้น-ลงในสารละลายที่มีความหนืด

ในที่น้ ีจะยกตัวอย่างการแกว่งของมวลที่ติดอยูก่ บั สปริ ง โดยที่มวลจุ่มลงไปในสารละลายที่มีความ


หนืด เพราะฉะนั้นแรงต้านทานที่เกิดจากความหนืดของตัวกลางเป็ นปฏิภาคกับความเร็ วของมวล

f  bv (45)
F  kx  bv (46)
2
d x
m  kx  bv (47)
dt 2
d 2x k b
2
 x v 0 (48)
dt m m

วิธีการแก้สมการ

18
เอกสารประกอบการสอน วิชา ฟิ สิ กส์ทวั่ ไป 1 รหัสวิชา 2304107
โดย อาจารย์ ดร. สตรี รัตน์ โฮดัค ภาควิชาฟิ สิ กส์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ให้ x (t )  e t แทนในสมการ จะได้
b k
 2 e t   e  t  e t  0 (49)
m m

b k
2   0 (50)
m m

เมื่อแก้สมการในรู ปแบบของ ax 2  bx  c  0
 b  b 2  4ac
x (51)
2a

ดังนั้นสมการ จะมีคำตอบเป็ น
2
b b k
     4 
m m m (52)

2

b
เมื่อให้คา่ คงที่ของความหน่วง  
2m
และความถี่เชิงมุมของการแกว่งเมื่อไม่มีแรงเสี ยดทาน
k

m
จะได้

2  2   2  0 (53)

เรี ยกสมการนี้วา่ Characteristic equation


1, 2     2   2 (54)

โดยที่คำตอบทัว่ ไป general solution เขียนได้

x(t )  Ax1  Bx 2 (55)

โดยที่

x1  e 1 t  e  t e  2  2 t
(56)
x2  e2 t  e  t e   2  2 t
(57)

เพราะฉะนั้น
x (t )  e t ( Ae  2  2 t
 Be   2  2 t
) (58)

การสัน่ มี 3 กรณี จะสัน่ แบบไหนดูจากเทอม  2


 2

19
เอกสารประกอบการสอน วิชา ฟิ สิ กส์ทวั่ ไป 1 รหัสวิชา 2304107
โดย อาจารย์ ดร. สตรี รัตน์ โฮดัค ภาควิชาฟิ สิ กส์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
1. 
2

2
 0 รากเป็ นจริ ง เรี ยกกรณี น้ ีวา่ Overdamp oscillation
2
b k
หรื อ >m
4m 2

2. 
2

2
 0 รากเป็ นจริ งและมีหนึ่งคำตอบ เรี ยกกรณี น้ ีวา่ Critical oscillation

b2 k
หรื อ = m
4m 2

3. 
2

2
 0 รากเป็ นจินตภาพ เรี ยกกรณี น้ ีวา่ Underdamp oscillation
2
b k
หรื อ < m
4m 2

รู ปที่ 10 แสดงแอมปลิจูดที่ลดลงเมื่อเวลาผ่านไปของการสัน่ ทั้ง 3 กรณี

(a) an underdamped oscillator

(b) a critically damped oscillator

(c) an overdamped oscillator

20
เอกสารประกอบการสอน วิชา ฟิ สิ กส์ทวั่ ไป 1 รหัสวิชา 2304107
โดย อาจารย์ ดร. สตรี รัตน์ โฮดัค ภาควิชาฟิ สิ กส์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
กรณี Underdamp oscillation วัตถุจะสัน่ ขึ้นลงรอบ ๆ จุดสมดุล แต่แอมปลิจูดจะลดลง
เรื่ อย ๆ ตามเวลาที่ผา่ นไป

กรณี Critical oscillation และ Overdamp oscillation วัตถุจะไม่มีสนั่ ขึ้นลง


รอบ ๆ จุดสมดุล แอมปลิจูดจะลดลงเรื่ อย ๆ ตามเวลาที่ผา่ นไป โดยที่แอมปลิจูดของกรณี
Critical oscillation จะลดลงเร็ วกว่ากรณี Overdamp oscillation

21

Вам также может понравиться