Вы находитесь на странице: 1из 5

Techno logy

Molded-Micro Part
ชิน้ ส่วนจิว๋ ๆ แต่กระบวนการผลิตไม่จว๋ิ คุณวิบุญ ตั้งวโรดมนุกูล
จากจำ�นวนเงินลงทุนในการวิจัย พัฒนา และผลิตชิ้นส่วนขนาดเล็ก PhD Candidate,
รวมถึงระบบกลไกขนาดเล็ก อย่าง Microelectromechanical Sys- School of Mechanical and Manufacturing Engineering,
tems หรือ MEMS นั้น เพิ่มขึ้นจาก 12 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ ในปี The University of New South Wales, Australia
e-mail: viboon@viboon.org
พ.ศ.2548 เป็น 24 พันล้านดอลล่าร์สหรัฐ ในปี พ.ศ.2552 เหตุผล
หลัก ๆ ของการพัฒนาในด้านนี้ คือ อุตสาหกรรมการผลิตหัวอ่าน
Rewritable Head การผลิตหัวฉีดหมึกของเครื่องพิมพ์ Inkjet และ
การผลิตจอภาพความละเอียดสูง เพราะกระบวนการผลิตแบบดัง้ เดิม
ไม่อาจผลิตชิ้นส่วนขนาดเล็กที่มีรายละเอียดสูงเหล่านี้ได้ หรือแม้จะ
ทำ�ได้ แต่ก็ต้องใช้เงินและเวลาในการผลิตที่สูงมาก

จากการพัฒนาด้านเทคโนโลยีในการผลิตและความต้องการชิน้ ส่วน
ขนาดเล็กรายละเอียดสูงในหลาย ๆ อุตสาหกรรม ท�ำให้เกิดการผลิตชิ้นส่วน
ขนาดเล็กที่สามารถให้รายละเอียดของชิ้นงาน และมีความถูกต้องแม่นย�ำ
สูงมาก โดยขนาดโครงสร้างของชิ้นงานอยู่ในระดับไมครอน หรือ 1 ใน 1,000
ของมิลลิเมตร ชิ้นส่วนขนาดจิ๋วเหล่านี้ถูกน�ำไปใช้เป็นส่วนหนึ่งของอุปกรณ์
อิเล็กทรอนิกส์ เครือ่ งมือทางวิทยาศาสตร์ อุปกรณ์ทางการแพทย์ รวมถึงของใช้
Hi-tech ต่าง ๆ รอบตัวเรา ชิน้ ส่วนบางชิน้ มีขนาดทีเ่ ล็กและมีรายละเอียดทีส่ งู
มากจนน่าทึ่ง ค�ำถามง่าย ๆ แต่ตอบไม่ง่ายคือ “ชิ้นส่วนจิ๋วๆ เหล่านี้ ผลิต
ขึ้นมาได้อย่างไร?”
ในการผลิตชิ้นส่วนขนาดเล็กนั้น สามารถท�ำได้โดยการใช้เครื่องมือ
ชิ้นส่วนพลาสติกขนาดเล็กสำ�หรับไว้เชื่อมต่อใยแก้วนำ�แสง โดยมีรูขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 0.2
ตัดขนาดเล็กหรือเลเซอร์ เพื่อกัดเซาะวัสดุออกในระดับไมครอน ซึ่งถือเป็นวิธี มิลลิเมตร บนชิ้นงาน (Micro Systems, UK)

December 2010-January 2011, Vol.37 No.214 079 <<<


Techno Production
logy

ต้องการนัน้ ต้องค�ำนึงถึงเทคโนโลยีในด้านต่าง ๆ นอกเหนือไปจากกระบวนการ


ขึ้นรูปพลาสติกแบบปกติทั่วไป เช่น โครงสร้างของแม่พิมพ์ คุณสมบัติของ
พลาสติกและวัสดุที่ใช้ท�ำแม่พิมพ์ ความแม่นย�ำของกระบวนการและการวัด
รวมไปถึงหลักการด้านไมโครและนาโนเทคโนโลยี นอกจากนี้ความยากของ
กระบวนการขึ้นรูปพลาสติกระดับไมครอนนั้น ก็เฉกเช่นเดียวกับการขึ้นรูป
วัสดุระดับไมครอนอืน่ ๆ คือ การผลิตชิน้ งานทีม่ อี ตั ราส่วนความหนาหรือความ
ลึกต่อความกว้างมาก ๆ หรือเรียกว่า Aspect Ratio เช่น การผลิตชิ้นงานที่มี
เส้นผ่านศูนย์กลางรูเล็กมาก ๆ แต่มีความลึกมาก ๆ เป็นต้น โดยปกติแล้ว ค่า
Aspect Ratio นี้จะมีค่ามากกว่า 1
ในกระบวนการขึน้ รูปชิน้ งานพลาสติกขนาดเล็กนัน้ มีสว่ นประกอบที่
ส�ำคัญ 2 ส่วนคือ แม่พิมพ์ที่มีโครงสร้างขนาดเล็ก (micro-structured mold
insert) และเครื่องจักรที่ใช้ประกอบในการขึ้นรูป แม้ว่าการผลิตแม่พิมพ์
ขนาดเล็กได้มีการพัฒนามาแล้วกว่า 30 ปี และกระบวนการผลิตแม่พิมพ์
การทัว่ ๆ ไปในการขึน้ รูปชิน้ งานระดับไมครอน อย่างไรก็ตาม การผลิตชิน้ ส่วน ขนาดจิ๋วและเครื่องจักรที่ใช้งานกับแม่พิมพ์ขนาดเล็กนี้ก็มีออกวางจ�ำหน่าย
ขนาดเล็กทีเ่ ป็นพลาสติกสามารถผลิตได้งา่ ยและถูกกว่าการผลิตแบบทีละชิน้ และใช้งานทั่วไปในอุตสาหกรรมการผลิตชิ้นส่วนขนาดเล็กแล้ว โดยเฉพาะ
ด้วยการสร้างแม่พมิ พ์ขนึ้ มา และใช้กระบวนการขึน้ รูปพลาสติกต่าง ๆ เพือ่ ผลิต อย่างยิ่งชิ้นส่วนที่เป็นเทอร์โมพลาสติก (thermoplastic polymers) หากแต่
ชิน้ งานแบบเดียวกันออกมาในปริมาณมาก ๆ ซึง่ จะท�ำให้ได้ราคาต่อชิน้ ทีถ่ กู ลง การวิจัยและพัฒนายังคงมีอย่างต่อเนื่อง และมีเพิ่มมากขึ้นในหลาย ๆ ปีมานี้
แม้ว่าจะเป็นชิ้นส่วนคุณภาพสูงก็ตาม และเช่นเดียวกับกระบวนการขึ้นรูปชิ้น เนื่องจากความรู้ที่เรามีเกี่ยวกับกระบวนการขึ้นรูปพลาสติกในระดับไมครอน
งานพลาสติกทัว่ ๆ ไป ชนิดของพลาสติกทีเ่ ลือกใช้กแ็ ตกต่างกันไปตามประเภท ในขณะนีย้ งั ถือว่าน้อยมาก เมือ่ เทียบกับกระบวนการขึน้ รูปในขนาดปกติทวั่ ไป
ของงาน เช่น ชิ้นส่วนที่ต้องใช้งานภายใต้อุณหภูมิสูง อาจต้องเลือกพลาสติก กระบวนการขึ้นรูปพลาสติกด้วยแม่พิมพ์ขนาดเล็กนั้น สามารถ
ที่ทนต่อการใช้งานที่อุณหภูมิสูงได้ เช่น Polyetheretherketone (PEEK) ที่ แบ่งออกได้เป็น 5 ประเภทใหญ่ ๆ คือ กระบวนการฉีด (injection molding)
สามารถใช้งานได้ที่อุณหภูมิสูงถึง 250 องศาเซลเซียส หรือชิ้นส่วนที่ต้องทน กระบวนการฉีดร่วมเพือ่ ให้เกิดการท�ำปฏิกริ ยิ า (reaction injection molding)
ต่อการกัดกร่อนทางเคมีอาจต้องใช้พลาสติกชนิด Perfluoralkoxy (PFA) หรือ การปัม๊ ขึน้ รูปด้วยความร้อน (hot embossing) กระบวนการฉีดประกอบกับ
หากต้องการชิน้ ส่วนทีม่ คี วามอ่อนตัวอาจเลือกใช้ Polyoxymethylene (POM) การอัดตัว (injection compression molding) และการขึ้นรูปแผ่นพลาสติก
หรือเลือกใช้ Polysulfone (PSU) ส�ำหรับชิ้นส่วนที่ต้องการความแข็งมาก ๆ ด้วยความร้อน (thermoforming) อย่างไรก็ตาม กระบวนการขึ้นรูปชิ้นงาน
เป็นต้น นอกจากนี้ หากต้องการชิ้นส่วนพลาสติกที่สามารถน�ำความร้อนหรือ พลาสติกขนาดเล็กส่วนใหญ่จะใช้กระบวนการฉีด และกระบวนการปั๊มขึ้นรูป
น�ำไฟฟ้าได้ หรือแม้กระทั่งมีคุณสมบัติเป็นแม่เหล็ก ก็สามารถท�ำได้โดยการ เป็นหลัก เนื่องจากสามารถให้ค่า Aspect Ratio ที่สูงมาก ๆ ได้
ผสมผงโลหะเข้าไปในเนื้อพลาสติก ค�ำถามที่หลายท่านอาจสงสัยในตอน
นี้คือ “กระบวนการผลิตชิ้นส่วนพลาสติกขนาดเล็กที่ว่านี้ จะต่างไปจาก
กระบวนการผลิตชิ้นส่วนพลาสติก อย่างเช่น กระบวนการฉีดพลาสติกที่
ใช้กันทั่วไปอย่างไร?”
อั น ที่ จ ริ ง แล้ ว หลั ก การขึ้ น รู ป พลาสติ ก ขนาดเล็ ก นั้ น ก็ เ หมื อ นกั บ
กระบวนการขึน้ รูปในสเกลขนาดใหญ่ทวั่ ไป นัน่ คือ การท�ำให้พลาสติกอ่อนตัว
ทีอ่ ณ
ุ หภูมสิ งู กว่า Glass Temperature หรือ อุณหภูมทิ ที่ ำ� ให้พลาสติกมีความ
อ่อนตัวพอที่จะสามารถท�ำให้เกิดการเปลี่ยนรูปทรงได้ จากนั้นท�ำการฉีด อัด
หรือท�ำให้เกิดการเปลี่ยนรูปทรงด้วยแม่พิมพ์ รอให้เย็นตัว และน�ำชิ้นงาน
ที่ได้ออกจากแม่พิมพ์ เพียงแต่ว่าการผลิตชิ้นงานพลาสติกระดับไมครอน
นั้นยังต้องมีปัจจัยอื่น ๆ ทางวิศวกรรมและวัสดุศาสตร์เข้ามาร่วมพิจารณา
Micro pump ที่ผลิตด้วยกระบวนการฉีด เทียบกับขนาดหัวไม้ขีด [1]
ด้วย เนื่องจากปริมาณของวัตถุดิบที่ใช้มีเพียงไม่กี่มิลลิกรัมต่อชิ้น และขนาด
ชิ้นส่วนต่าง ๆ อยู่ในระดับไมครอน ซึ่งถือว่ามีความยากในแง่ของการ
ควบคุมอุณหภูมิ และปัจจัยในการขึ้นรูปอื่น ๆ ที่มีความซับซ้อนมากกว่า กระบวนการฉีด (injection molding) จะใช้ในการผลิตชิ้นส่วนที่เป็น
กระบวนการขึ้นรูปพลาสติกแบบปกติทั่วไป นั่นหมายความว่า การลดขนาด เทอร์โมพลาสติก โดยอาศัยการให้ความร้อนกับพลาสติกให้สูงกว่า Glass
ของกระบวนการขึ้นรูปพลาสติกให้เล็กลงจากขนาดปกติที่ใช้กันทั่วไปนั้น ไม่ Temperature และฉีดเข้าไปในแม่พิมพ์ โดยกลไกของการฉีดนั้นจะต่างไป
เพียงพอที่จะให้ชิ้นงานที่มีคุณภาพสูงได้ จากกระบวนการฉีดพลาสติกทั่วไป คือ มีการเพิ่มชุดลูกสูบซึ่งมีขนาดไม่กี่
การขึ้นรูปชิ้นส่วนพลาสติกขนาดจิ๋วให้ได้ขนาดและคุณภาพตามที่ มิลลิเมตร เพื่อใช้ในการอัดพลาสติกเข้าไปในแม่พิมพ์ นอกเหนือจากการใช้

>>> 080 December 2010-January 2011, Vol.37 No.214


Production Techno
logy

ชุดสกรูล�ำเลียงที่ใช้หลอมพลาสติก ดังเช่นกระบวนการฉีดในแบบปกติทั่วไป การผลิตชิ้นงานแบบใดแบบหนึ่งโดยเฉพาะ เพื่อให้เหมาะกับการผลิตแบบ


สาเหตุทใี่ ช้ชดุ ลูกสูบในการฉีดพลาสติกเข้าแม่พมิ พ์ คือ ปริมาณพลาสติก และ Mass Production แต่การทีอ่ ณ ุ หภูมแิ ม่พมิ พ์มกี ารปรับขึน้ และลงในรอบเวลา
ความเร็วในการฉีด สามารถควบคุมได้แม่นย�ำกว่าแบบสกรู ส�ำหรับขนาดของ สัน้ ๆ นี้ จะท�ำให้อายุการใช้งานของแม่พมิ พ์สนั้ ลง วัสดุทใี่ ช้ในการผลิตแม่พมิ พ์
ชุดสกรูทใี่ ช้จะมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางไม่เกิน 20 มิลลิเมตร เนือ่ งจากปริมาณ จึงต้องมีคุณสมบัติการในน�ำความร้อนที่ดี วิธี Variotherm Process นี้ เริ่มน�ำ
พลาสติกทีใ่ ช้นอ้ ยกว่ากระบวนการฉีดปกติ ซึง่ โดยทัว่ ไปจะมีขนาดประมาณ 12 เข้ามาใช้ในอุตสาหกรรมบ้างแล้ว แต่ยังอยู่ในระดับที่จ�ำกัด เนื่องจากความ
มิลลิเมตร เพื่อให้สอดคล้องกับขนาดมาตรฐานของเม็ดพลาสติก ยืดหยุ่นของตัวระบบ และช่วงของการปรับอุณหภูมิที่เหมาะสมยังอยู่ในช่วง
อุณหภูมแิ ม่พมิ พ์ ความเร็วในการฉีด แรงดันในการฉีด เวลา และแรง ของการวิจัยและพัฒนา
ดันที่ใช้ในจังหวะ Holding ถือเป็นปัจจัยส�ำคัญในกระบวนการฉีดพลาสติก นอกจากนี้ระบบระบายอากาศในแม่พิมพ์ ถือเป็นระบบที่ส�ำคัญที่
ส�ำหรับการขึ้นรูปชิ้นงานที่มีค่า Aspect Ratio สูงมาก ๆ มักจะควบคุมให้ ต้องมี เนื่องจากอากาศที่ถูกกักไว้ในโพรงแบบในช่วงที่พลาสติกถูกฉีดเข้าไป
อุณหภูมิแม่พิมพ์สูงใกล้ Glass Temperature หรือในบางครั้งอาจสูงใกล้ อาจท�ำให้เกิดปฏิกิริยา Diesel Effect ท�ำให้เกิดรูบนชิ้นงานได้ ในบางกรณี
อุณหภูมิหลอมเหลวของพลาสติก เพื่อลดความหนืดของพลาสติกลง และให้ อาจต้องท�ำให้โพรงแบบเป็นสุญญากาศก่อนที่จะฉีดพลาสติกเข้าแม่พิมพ์
พลาสติกสามารถไหลตัวได้ดีในโพรงแบบขนาดเล็ก ๆ อย่างไรก็ตาม การเพิ่ม เพื่อให้พลาสติกสามารถไหลเข้าไปยังส่วนโครงสร้างขนาดเล็กในแม่พิมพ์ได้
อุณหภูมฉิ ดี สูงมาก ๆ อาจส่งผลให้พลาสติกเสือ่ มสภาพได้ การแก้ปญ ั หาเรือ่ ง อย่างมีประสิทธิภาพ
อุณหภูมิฉีด และการไหลตัวของพลาสติกในแม่พิมพ์สามารถท�ำได้โดยการ การใช้ความเร็วในการฉีดพลาสติกที่สูง นอกจากจะช่วยให้พลาสติก
ใช้กระบวนการที่เรียกว่า Variotherm Process หรือ กระบวนการที่อุณหภูมิ ไหลเข้าไปเติมในโพรงแบบได้ดีแล้ว ยังลดเวลาที่พลาสติกจะสัมผัสกับผิว
แม่พิมพ์สามารถปรับขึ้นลงได้เป็นวัฏจักร ซึ่งต่างจากวิธีการดั้งเดิมที่อุณหภูมิ แม่พมิ พ์ลง ซึง่ ลดโอกาสการไหลไม่ทวั่ แบบ เนือ่ งจากการเย็นตัวของพลาสติก
แม่พิมพ์จะคงที่อยู่ที่ค่าหนึ่ง ๆ แต่การใช้กระบวนการ Variotherm Process อย่างรวดเร็ว เมือ่ พลาสติกสัมผัสกับผิวแม่พมิ พ์จนไปปิดกัน้ เส้นทางการไหลใน
นี้ จะท�ำให้รอบการฉีดนานมากขึ้น เพราะช่วงของการเพิ่มและลดอุณหภูมิจะ แม่พิมพ์ โดยเฉพาะในส่วนที่เป็นโครงสร้างขนาดเล็ก หรือมีค่า Aspect Ratio
อยู่ที่หลายสิบถึงหลายร้อยองศาขึ้นอยู่กับชนิดพลาสติก และลักษณะชิ้นงาน มาก ๆ ปัญหาการไหลไม่เต็มแบบอาจแก้ไขได้โดยการใช้ระบบ Hot Runner
ระยะเวลาที่ท�ำให้ชุดแม่พิมพ์ได้อุณหภูมิสูงขึ้นและต�่ำลงตามต้องการ จึงยาว System เพือ่ เพิม่ ความสามารถในการไหลตัวของพลาสติก ลดปัญหาเรือ่ งแรง-
ขึน้ กว่าปกติ ดังนัน้ วิธกี ารนีม้ กั จะถูกออกแบบและค�ำนวณมาเป็นพิเศษส�ำหรับ ดันและความเค้นทีส่ ะสมในโครงสร้างชิน้ งาน ขัน้ ตอนสุดท้ายของกระบวนการ

December 2010-January 2011, Vol.37 No.214 081 <<<


Techno Production
logy

ฉีดที่ส�ำคัญไม่แพ้ขั้นตอนของการฉีด คือ การน�ำชิ้นงานออกจากแม่พิมพ์ หรือ การน�ำชิ้นงานออกจากแม่พิมพ์ท�ำได้ง่ายกว่าด้วย นอกจากนี้ความเค้นที่เกิด


Demolding ในกระบวนการฉีดพลาสติกโดยปกติทั่วไป จะใช้ Ejector Pins ขึน้ ในชิน้ งานก็มนี อ้ ยกว่าทีเ่ กิดขึน้ ในกระบวนการฉีด วิธกี ารปัม๊ ขึน้ รูปจึงเหมาะ
ในการดีดชิ้นงานออกจากแม่พิมพ์ อย่างไรก็ตาม การใช้ Ejector Pins ขนาด ที่จะใช้ในการผลิตชิ้นส่วนประเภท Optical Devices อย่างเช่น เลนส์ เป็นต้น
ทีเ่ ล็กมาก ๆ ส�ำหรับชิน้ งานขนาดเล็ก อาจท�ำให้เกิดรอยบนชิน้ งานไปจนถึงชิน้
งานได้รับความเสียหายได้ Ejector Pins ขนาดที่เล็กกว่า 0.2 มิลลิเมตร อาจ
น�ำมาใช้ได้ หากใช้ในต�ำแหน่งชิ้นส่วนที่มีโครงสร้างค่อนข้างแข็งแรง วิธีการ
อื่น ๆ ที่เริ่มน�ำมาใช้ในกระบวน Demolding ชิ้นงานพลาสติกขนาดเล็กมาก ๆ
คือ การใช้ระบบสุญญากาศ ระบบกลไกการปรับขนาดของโพรงแบบที่ท�ำให้
ชิ้นงานหลุดออกมาได้ง่าย และใช้การสั่นสะเทือนแบบ Ultrasonic เพื่อให้ชิ้น
งานหลุดออกจากแม่พิมพ์ เป็นต้น


อุปกรณ์ที่ใช้ในการเย็บเส้นเลือดในการผ่าตัดทำ� Bypass ซึ่งมีชุดกลไกการยิงลวดเย็บแผลขนาด
เพียง 0.5 มิลลิเมตร (Matrix Tooling Inc.)

ในส่วนของการผลิตแม่พิมพ์ส�ำหรับใช้ในการขึ้นรูปพลาสติกนั้น เริ่ม
มีการคิดค้นมาตั้งแต่ปี พ.ศ.2513 โดยกลุ่มนักวิจัยจาก RCA Laboratories
ที่ Princeton สหรัฐอเมริกา ได้พัฒนาวิธีการในการผลิตฟิลม์ฮอโลแกรม
แต่โครงการก็ยุติลง เนื่องจากไม่ประสบความส�ำเร็จในด้านการตลาด ต่อมา
ได้มีการพัฒนาวิธีการสร้างแม่พิมพ์ระดับไมครอนอย่างจริงจังที่ Karlsruhe
เยอรมันนี ในช่วงปี พ.ศ.2523 และได้ใช้ชื่อเทคโนโลยีการขึ้นรูปโครงสร้าง
ระดับไมครอนว่า LIGA ซึ่งย่อมาจากภาษาเยอรมันว่า Lithographie, Gal-
vanoformung und Abformung แปลว่า Lithography, electroplating
and molding หรือก็คือ การพิมพ์ลาย การชุบโลหะด้วยไฟฟ้า และการท�ำ
แม่พิมพ์ ซึ่งกระบวนการสร้างแม่พิมพ์ด้วยวิธี LIGA นี้ ได้น�ำไปใช้สร้าง
แม่พมิ พ์สำ� หรับกระบวนการฉีด ต่อมาได้มกี ารพัฒนาไปใช้กบั กระบวนการปัม๊
กระบวนการขึ้นรูปพลาสติกด้วยกระบวนการฉีด (ซ้าย) ขึ้นรูป เนื่องจากกระบวนการปั๊มขั้นรูปนี้ สามารถผลิตชิ้นงานที่มีค่า Aspect
และกระบวนการปั๊มขึ้นรูปด้วยความร้อน(ขวา) [2] Ratio สูงกว่า 10 และมีความเค้นภายในเนื้อวัสดุงานที่น้อยมาก กระบวนการ
ผลิตแม่พมิ พ์ระดับไมครอนด้วย LIGA จึงได้รบั การพัฒนา และถูกใช้แพร่หลาย
ส�ำหรับกระบวนการปั๊มขึ้นรูปด้วยความร้อน (hot embossing) เป็น มากขึ้นในหลาย ๆ ประเทศ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการใช้ร่วมกับกระบวนการ
อีกวิธีที่นิยมใช้ในการขึ้นรูปชิ้นงานขนาดเล็ก ข้อเสียของกระบวนการนี้ คือ
รอบเวลาที่ใช้การขึ้นรูปจะนานกว่ากระบวนการฉีด ในบางครั้งอาจนานถึง 30
นาที ส�ำหรับการให้ความร้อนกับชิ้นงานและชุดแม่พิมพ์ เพื่อให้ได้อุณหภูมิที่
เหมาะสมส�ำหรับการขึน้ รูป ท�ำให้กระบวนการนีไ้ ม่เหมาะกับการผลิตทีต่ อ้ งการ
อัตราในการผลิตสูง ๆ อย่างไรก็ตาม กระบวนการปั๊มขึ้นรูปนี้เหมาะกับการขึ้น
รูปชิ้นงานที่มีค่า Aspect Ratio สูง ๆ เช่น ชิ้นงานที่มีรูขนาดเล็ก แต่ลึกมาก ๆ
หรือมีชิ้นส่วนที่บาง ๆ แต่มีความยาวมาก อย่างเช่น ส่วนที่เป็นครีบหรือร่อง
ต่าง ๆ ซึ่งความคลาดเคลื่อนที่ได้จากกระบวนการปั๊มขึ้นรูปนี้อาจละเอียดได้
ถึงระดับนาโน หากแม่พิมพ์ได้รับการออกแบบ และกระบวนการได้รับการ
ปรับตั้งที่เหมาะสม
ในกระบวนการปั๊มขึ้นรูปนั้น แม่พิมพ์จะไม่ถูกปิดสนิทดังเช่นใน
กระบวนการฉีด จุดประสงค์เพื่อให้พลาสติกส่วนเกินสามารถไหลตัวออกมา
ได้ แต่เนือ่ งจากพลาสติกไม่ได้เกิดการไหลตัวมากอย่างเช่นในกระบวนการฉีด
อุณหภูมทิ ใี่ ช้ในการปัม๊ ขึน้ รูปจึงค่อนข้างต�ำ่ กว่ากระบวนการฉีด ท�ำให้การหดตัว
ของชิ้นงานในระหว่างการเย็นตัวมีน้อยกว่า เมื่อชิ้นงานหดตัวไม่มาก จึงท�ำให้

>>> 082 December 2010-January 2011, Vol.37 No.214


Production Techno
logy

ปั๊มขึ้นรูป ซึ่งสามารถให้ชิ้นงานพลาสติกที่มีโครงสร้างละเอียดซับซ้อนได้ดีถึง จากบทความนี้จะเห็นได้ว่า การผลิตชิ้นส่วนพลาสติกขนาดเล็กนั้น


ระดับนาโนเมตร อาจมีหลักการคล้ายกับการผลิตชิ้นส่วนในขนาดใหญ่ปกติทั่วไป หากแต่มี
หลักการในการผลิตแม่พิมพ์ในระดับไมครอนด้วยเทคโนโลยี LIGA เงื่อนไข และความละเอียดของกระบวนการที่ซับซ้อนและต้องใส่ใจมากกว่า
นั้น เริ่มที่การสร้างชิ้นงานต้นแบบด้วยเรซินโดยอาศัยการท�ำปฏิกิริยาของเรซิน ทัง้ ในแง่ของวัสดุ กระบวนการ และการผลิตแม่พมิ พ์ทมี่ คี วามยากกว่าการผลิต
ชนิดทีไ่ วต่อแสงกับแสงอัลตราไวโอเลต (UV light) หรือรังสีเอกซ์ (X-ray) ทีส่ อ่ ง แม่พมิ พ์ในขนาดใหญ่ทวั่ ไป นอกจากนีเ้ ครือ่ งจักรและกลไกต่าง ๆ ทีใ่ ช้ยงั ต้องมี
ผ่าน Mask เพือ่ ให้เกิดลวดลายของแบบทีต่ อ้ งการ จากนัน้ ท�ำการชุบโลหะด้วย ความแม่นย�ำสูงมาก เพือ่ ให้สามารถผลิตงานขนาดเล็กในระดับไมครอนออกมา
ไฟฟ้าเพื่อสร้างเป็นแม่พิมพ์ และเมื่อท�ำการล้างเอาเรซินออกก็จะได้แม่พิมพ์ ได้ถูกต้องตรงตามความต้องการ จากการน�ำเอาเทคโนโลยี LIGA เข้ามาใช้ใน
ส�ำหรับงานขึ้นรูปชิ้นส่วนขนาดเล็ก โดยค่า Aspect Ratio ของแม่พิมพ์ที่ได้อยู่ การผลิตแม่พมิ พ์เทอร์โมพลาสติกขนาดเล็ก ท�ำให้สามารถผลิตชิน้ งานพลาสติก
ทีป่ ระมาณ 20-500 และได้ความเรียบผิวของแม่พมิ พ์ทปี่ ระมาณ 50 นาโนเมตร ที่มีค่า Aspect Ratio สูงมาก ๆ ได้ นอกจากนี้เทคนิคในการควบคุมอุณหภูมิที่
ใช้ในการขึ้นรูปยังเป็นเรื่องที่ยังอยู่ในขั้นตอนของการวิจัยและพัฒนา เพื่อให้
พลาสติกสามารถไหลตัวเข้าในโพรงแบบขนาดเล็ก ๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ปราศจากการเสื่อมสภาพของพลาสติกอันเนื่องมาจากอุณหภูมิที่ใช้อาจสูงจน
เกินไป จากการวิจัยล่าสุดพบว่า โครงสร้างพลาสติกขนาดไม่กี่สิบนาโนเมตรก็
สามารถท�ำการขึ้นรูปได้ แม้ว่าขนาดโมเลกุลของพลาสติกจะมีขนาดใหญ่กว่า
มาก แต่ด้วยโครงสร้างของพลาสติก ท�ำให้สามารถยืดตัวและเปลี่ยนรูปทรง
ตามความต้องการได้ ดังนั้น ขนาดที่เล็กที่สุดที่เป็นไปได้ในการผลิตชิ้นส่วน
เทอร์โมพลาสติกขนาดเล็กนั้นยังคงอยู่ในช่วงของการศึกษาให้ห้องปฏิบัติการ

กระบวนการสร้างแม่พิมพ์ขนาดเล็กด้วยวิธี LIGA [3]

กระบวนการ LIGA ยังสามารถแบ่งออกได้เป็นหลายวิธีการต่างกันที่


ชิ้นส่วนพลาสติก ABS ขนาดเล็กที่มีส่วนของวงแหวนทำ�จาก TPE เทียบกับขนาดปลายดินสอ
ชนิดของแสงทีใ่ ช้ในการขึน้ รูปโครงสร้างขนาดเล็ก เช่น UV-LIGA Ion-beam-LI- (Accumold Inc.) Techno logy

GA และ Electron-beam-LIGA เป็นต้น อย่างไรก็ตาม ข้อจ�ำกัดของเทคโนโลยี


LIGA คือ Draft Angles ของแม่พมิ พ์มคี า่ น้อยมาก ซึง่ ท�ำให้การถอดชิน้ งานออก เอกสารอ้างอิง
จากแม่พิมพ์ท�ำได้ยาก แม้ว่าจะสามารถสร้างแม่พิมพ์ที่มี Draft Angles ด้วย 1. Bustgens, B., Bacher, W., Bier, W., Ehnes, R., Maas, D., Ruprecht, R.,
วิธี LIGA ได้ แต่กระบวนการจะมีความซับซ้อนมากขึ้นในส่วนของการควบคุม Schomburg, W.K. and Keydel, L. (1994) Micromembrane pump manufactured by
แสงในขั้นตอน Lithography molding. Actuator’94: Proc. Fourth Int. Conf. on New Actuators, Breen, 15-17 June,
นอกจากการใช้วิธี LIGA ในการสร้างแม่พิมพ์ขนาดเล็กแล้ว ยัง pp.86–90.
สามารถใช้กระบวนการตัดวัสดุในระดับไมครอนอื่น ๆ ได้อีกด้วย เช่น Micro- 2. Heckele, M. and Schomburg, W.K. (2004) Review on micro molding
milling MicroEDM หรือ Laser เป็นต้น นอกจากนี้วัสดุที่ใช้ท�ำแม่พิมพ์อาจ of thermoplastic polymers. J. Micromech. Microeng., 14, R1–R14.
เป็นวัสดุอ่อนอื่น ๆ ที่ท�ำการตัดขึ้นรูปได้ง่ายด้วยกระบวนการข้างต้นแล้วน�ำมา 3. Giboz, J., Copponnex, T. and Mele, P. (2007) Microinjection molding
ชุบโลหะด้วยไฟฟ้า เพื่อให้มีความแข็งแรงเพียงพอส�ำหรับใช้เป็นแม่พิมพ์ โดย of thermoplastic polymers: a review. J. Micromech. Microeng., 17, R96–R109
กระบวนการชุบโลหะด้วยไฟฟ้าต้องได้รับการปรับตั้งที่เหมาะสมเพื่อป้องกัน
ความเค้นในเนื้อโลหะ ซึ่งอาจท�ำให้เกิดการบิดตัวของโครงสร้างแม่พิมพ์ที่มี
ขนาดเล็กได้

December 2010-January 2011, Vol.37 No.214 083 <<<

Вам также может понравиться