Вы находитесь на странице: 1из 10

ข้อสอบเศรษฐศาสตร ์ ม.

3
๑.ข ้อใดคือลักษณะของตลาดแข่งขันสมบูรณ์
ก. สินค ้ามีลก ั ษณะแตกต่างกัน
ข. ผูซ ื้
้ อและผู ข
้ ายมีจานวนไม่มาก
ค. ข ้อมูลเกียวกั ่ บตลาดเป็ นความลับ
ง. ผูผ ้ ลิตสามารถเลิกล ้มกิจการได ้ง่าย
๒.ข ้อใดคือสิงที ่ ตลาดแข่
่ ่ งขันกึงผู
งขันสมบูรณ์และตลาดกึงแข่ ่ กขาดเหมือนกัน
ก. รูปลักษณ์และราคาของสินค ้า
ข. ผูผ ้ ลิตรายใหม่เข ้าสู่ตลาดได ้ง่าย
ค. การใช ้วิธก ี ารแข่งขันทางการตลาด
ง. การร ับรู ้ข ้อมูลและรายละเอียดเกียวกั ่ บสินค ้า
๓.“ตลาดทีมี ่ ผูข ้ ายเพียงไม่กราย ่ี
แต่ละรายจะผลิตและจาหน่ ายสินค ้าเป็ นสัดส่วนมาก”
ตลาดลักษณะดังกล่าวจาหน่ ายสินค ้าใด
ก. หนังสือพิมพ ์
ข. ผักและผลไม ้
ค. เครืองใช ่ ้ไฟฟ้ า
ง. อาหารสาเร็จรูป
๔.ข ้อใดคือสินค ้าในตลาดผูกขาด
ก. ไฟฟ้ า ประปา
ข. ข ้าวโพด ยางพารา
ค. น้าอัดลม ปูนซีเมนต ์
ง. เครืองปร ่ ับอากาศ โทรทัศน์
๕.ข ้อใดคือพฤติกรรมของตลาดผูข ้ ายน้อยราย
ก. ผูข ้ ายจะไม่ใช ้ราคาเป็ นเครืองมื ่ อในการแข่งขัน
ข. ผูข ้ ายจะกาหนดราคาสินค ้าใหแ้ ตกต่างจากรายอืน ่
ค. ผูข ้ ายจะสร ้างความแตกต่างในด ้านรูปลักษณ์ของสินค ้า
ง. ผูข ้ ายจะผลิตสินค ้าให ้มีคณ ุ ภาพใกลเ้ คียงกับรายอืน่
๖.ข ้อใดเป็ นไปตามกฎของอุปทาน
ก. น้อยอยากได ้กระเป๋ าใหม่แต่ไม่มเี งิน
ข. น้าเห็นว่ามังคุดมีราคาถูกจึงนามังคุดมาขาย
ค. ก ้องนาเสือยื ้ ดออกขายเพิมเพราะราคาสิ
่ นค ้าสูงขึน้
ง. นุ่ นขายพวงมาลัยมากขึนเพราะดอกมะลิ ้ มรี าคาแพง
๗.ปัจจัยใดไม่มผ ี ลต่อการกาหนดอุปสงค ์
ก. ฤดูกาล
ข. รายได ้ของผูบ้ ริโภค
ค. กรรมวิธใี นการผลิต
ง. รสนิ ยมของผูบ้ ริโภค
่ อไก่
๘.“เมือเนื ้ ขนราคา ึ้ ้ อปลาไปท
สมใจจึงซือเนื ้ ากับข ้าวแทน”
จากข ้อความนี ปั ้ จจัยใดมีผลต่อความต ้องการซือของสมใจ ้
ก. ฤดูกาล
ข. รายได ้ของผูบ้ ริโภค
ค. รสนิ ยมของผูบ้ ริโภค
ง. ราคาสินค ้าอืนที ่ เกี่ ยวข่ ้อง

๙.“มนัสซือรองเท ้ากีฬายีห ่ ้อดังและมีราคาแพง แมว้ ่าจะต ้องเก็บเงินนานเป็ นเดือน”
จากข ้อความนี ปั ้ จจัยใดมีผลต่อความต ้องการซือของมนั ้ ส
ก. ฤดูกาล
ข. รายได ้ของผูบ้ ริโภค
ค. รสนิ ยมของผูบ้ ริโภค
ง. ราคาของสินค ้าและบริการ
๑๐.ฤดูกาลมีผลต่อการเปลียนแปลงของอุ ่ ปสงค ์ของสินค ้าในข ้อใด
ก. กางเกงยีนส ์
ข. นมพร่องมันเนย
ค. โทรศัพท ์เคลือนที ่ ่

ง. เครืองปร ับอากาศ
๑๑.ตามกฎของอุปสงค ์จานวนสินค ้าและราคามีความสัมพันธ ์กันอย่างไร
ก. เป็ นไปในทิศทางเดียวกัน
ข. เป็ นไปในทิศทางตรงกันข ้าม
ค. ราคาไม่มผ ี ลต่อปริมาณสินค ้า
ง. ไม่มข ี ้อถูก
๑๒.สินค ้าในข ้อใดไม่จาเป็ นต ้องซือในฤดู ้ กาล
ก. พัดลม
้ นฝน
ข. เสือกั
่ าน้าอุน
ค. เครืองท ่

ง. โทรศัพท ์เคลือนที ่
๑๓.ข ้อใดกล่าวผิด
ก. ราคาของสินค ้าไม่มผ ี ลต่อการเสนอขายสินค ้าของผูผ ้ ลิต
่ ้นทุนการผลิตลดลง ผูผ
ข. เมือต ้ ลิตจะนาสินค ้าออกมาขายมากขึน้
ค. การคาดคะเนของราคาสินค ้าอาจก่อให ้เกิดปัญหาการกักตุนสินค ้า

ง. จานวนสินค ้าทีเสนอขายมี ความสัมพันธ ์ทิศทางเดียวกันกับราคาสินค ้า
๑๔.ปริมาณเสนอขายทีมากกว่ ่ าปริมาณความต ้องการซือมี ้ ผลตามข ้อใด
ก. สินค ้าล ้นตลาด
ข. สินค ้าขาดตลาด
ค. สินค ้ามีราคาแพงขึน้
ง. ไม่มผ ี ลต่อราคาสินค ้า
๑๕.ราคาและปริมาณซือที ้ เท่ ่ ากับปริมาณเสนอขายพอดีเรียกว่าอะไร
ก. ราคาสมดุล
ข. ราคาประมูล
ค. ราคาคุณภาพ
ง. ราคาดุลยภาพ
๑๖.ภาษีหรือเงินช่วยเหลือมีความสาคัญต่อผูผ ้ ลิตหรือไม่ อย่างไร
ก. มี เพราะช่วยทาให ้ต ้นทุนการผลิตต่าลง
ข. มี เพราะช่วยใหผ ้ ูข ้
้ ายตังราคาสิ นค ้าได ้แพงขึน้
ค. ไม่มี เพราะภาษีเป็ นเงินทีผู ่ ผ ้ ลิตต ้องจ่ายให ้ร ัฐบาล
ง. ไม่มี เพราะเงินช่วยเหลือไม่ได ้ทาให ้ผูผ ้ ลิตขยายการผลิตได ้
๑๗.ถ ้าอัตราเงินเฟ้ อเท่ากับร ้อยละ ๑๐ เงิน๒๐๐ บาท เงินจะมีอานาจซือเป็ ้ นเท่าใด
ก. ๑๘๐
ข. ๒๐๐
ค. ๒๑๐
ง. ๒๒๐
๑๘.ภาวะเงินเฟ้ อในระดับปกติอยู่ทเท่ ่ี าใด
ก. ร ้อยละ ๒ – ๓
ข. ร ้อยละ ๓ – ๕
ค. ร ้อยละ ๕ – ๗
ง. ร ้อยละ ๗ – ๑๐
่ มาณเงินทุนหมุนเวียนมีไม่เพียงพอต่อขนาดของระบบเศรษฐกิจชีให
๑๙.การทีปริ ้ ้เ
ห็นว่าประเทศกาลังประสบปัญหาใด
ก. เงินฝื ด
ข. เงินเฟ้ อ
ค. การว่างงาน ง. ผลผลิตตกต่า
่ ดภาวะเงินเฟ้ อ อัตราดอกเบียที
๒๐.เมือเกิ ้ เป็
่ นตัวเงินสูงขึน้
ผูอ้ อมควรปกป้ องตนเองไม่ให ้สูญเสียอานาจซือของเงิ ้ นด ้วยวิธใี ด

ก. ซือทองค า
ข. เก็บเงินสด
ค. ฝากธนาคาร
ง. กักตุนของกินของใช ้
๒๑.ข ้อใดกล่าวถึงภาวะเงินฝื ดได ้ถูกต ้องทีสุ ่ ด

ก. ลูกหนี จะได ้เปรียบ
ข. ก่อให ้เกิดการจ ้างงานเต็มที่

ค. ผูม้ รี ายได ้ประจาและเจ ้าหนี จะได ้เปรียบ
ง. ประชาชนจะเร่งใช ้จ่ายเงินซือสิ ้ นค ้าและบริการ
๒๒. “โรงงานเย็บผา้ สังซื่ อเครื
้ ่ กรมาใช ้ในการผลิต เพือลดจ
องจั ่ านวนคนงาน”
การลดจานวนคนงานก่อให ้เกิดปัญหาการว่างงานเนื่ องจากสาเหตุใด
ก. ว่างงานเนื่ องจากวัฏจักร
ข. ว่างงานเนื่ องจากโครงสร ้าง
ค. ว่างงานตามปกติในตลาดแรงงาน
ง. ว่างงานเนื่ องจากค่าแรงไม่ยด ื หยุ่น
๒๓.การช่วยครอบครวั ทาสวนผลไมแ้ ละผลิตสินค ้าหัตถกรรมในคร ัวเรือน
เป็ นการว่างงานหรือไม่ อย่างไร
ก. เป็ น เพราะไม่ได ้ร ับค่าจ ้างตอบแทน
ข. เป็ น เพราะไม่ได ้เสียภาษีเงินได ้ให ้ร ัฐ
ค. ไม่เป็ น เพราะได ้อาหารและทีอยู่ ่อาศัยเป็ นสิงตอบแทน

ง. ไม่เป็ น เพราะการช่วยครอบคร ัวเป็ น
การทางานอย่างหนึ่ ง
๒๔.ข ้อใดไม่ใช่สภาพปัญหาท ้องถินในปั่ จจุบน ั
ก. ราคาผลผลิตตกต่า
ข. การบริโภควัตถุนิยมเกินตัว
ค. การใช ้สารเคมีทางการเกษตร
ง. การกีดกันทางการค ้าในต่างประเทศ
๒๕.การดาเนิ นการตามแนวปร ัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
โดยใช ้หลักปรช ั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงเป็ นแนวทางในการดาเนิ นชีวต ิ เป็ นบทบ
าทของร ัฐบาลกับการพัฒนาประเทศในด ้านใด
ก. ด ้านเศรษฐกิจ
ข. ด ้านการต่างประเทศ
ค. ด ้านการบริหารราชการแผ่นดิน
ง. ด ้านการมีส่วนร่วมของประชาชน
๒๖.ข ้อใดเป็ นบทบาทของร ัฐบาลในการบริหารประเทศด ้านวิทยาศาสตร ์
ทร ัพย ์สินทางปัญญาและพลังงาน
ก. การจัดทาบริการสาธารณะ
ข. การดูแลรกั ษาทร ัพยากรธรรมชาติอย่างมีประสิทธิภาพ
ค. การร ักษาและพัฒนาภูมป ิ ัญญาท ้องถินและภู่ มป
ิ ัญญาไทย
ง. การส่งเสริมการค ้า การลงทุน และการท่องเทียวกั ่ บนานาประเทศ

๒๗.ข ้อใดไม่ใช่บทบาททางเศรษฐกิจของร ัฐบาล


ก. การจัดสรร
ข. การจากัดการแข่งขัน
ค. การกระจาย
ง. การร ักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ
่ การกาหนดราคาขันต
๒๘.สินค ้าในข ้อใดทีมี ้ ่า

ก. เครืองใช ้ไฟฟ้ า
ข. เสือผ ้ า้ เครืองนุ ่ ่ งห่ม
ค. ผลผลิตทางการเกษตร
ง. ของใช ้ในชีวต ิ ประจาวัน
๒๙.ข ้อใดคือประโยชน์ของการค ้าระหว่างประเทศทีมี ่ ตอ
่ ประเทศผูน้ าเข ้าสินค ้า
ก. การเพิมรายได ่ ้ของผูผ
้ ลิต
ข. การมีเงินตราต่างประเทศ
ค. การเพิมประสิ ่ ทธิภาพการผลิต
ง. การมีความสามารถในการชาระหนี คื ้ น
๓๐.“ประเทศไทยทาการค ้ากับประเทศบราซิล
โดยส่งข ้าวเป็ นสินค ้าออกนาเข ้ากาแฟจากบราซิล”
จากข ้อความนี ข ้ ้อใดเป็ นสาเหตุและปัจจัยทีก่ ่ อให ้เกิดการค ้าระหว่างประเทศ
ก. ความได ้เปรียบทางการผลิต
ข. จานวนประชากรในประเทศ
ค. ความแตกต่างทางภูมศ ิ าสตร ์
ง. ความแตกต่างของภูมอ ิ ากาศ
๓๑.ปัจจัยใดทีเป็ ่ นตัวผลักดันให ้แต่ละประเทศเลือกผลิตสินค ้าทีมี ่ ต ้นทุนต่าและมีค
วามชานาญในการผลิต
ก. ทร ัพยากรธรรมชาติ
ข. วัฒนธรรมความเป็ นอยู่
ค. รสนิ ยมการบริโภคของประชากร

ง. การสือสารโทรคมนาคมและการขนส่ ง
๓๒.ประเทศทีก ่ าลังพัฒนาควรใช ้วิธใี ดในการกีดกันทางการค ้าเพือให ่ ้ประชาชนใ
่ ตขึนในประเทศ
ช ้สินค ้าทีผลิ ้
ก. การเก็บภาษีหลายอัตรา
ข. การกาหนดข ้อจากัดทางการค ้า
ค. การผลิตสินค ้าหลายชนิ ดหรือหลายสาขา
ง. การคุ ้มกันสินค ้าทีผลิ ่ ตขึนภายในประเทศ

๓๓.หากต ้องการป้ องกันการเข ้ามาทุม ่ ตลาดของสินค ้าจากประเทศอืน ่ ๆ
ควรใช ้วิธก ี ารกีดกันทางการค ้าในข ้อใด
ก. การเก็บภาษีหลายอัตรา
ข. การกาหนดข ้อจากัดทางการค ้า
ค. การผลิตสินค ้าหลายสาขาหรือหลายชนิ ด
ง. การคุ ้มกันสินค ้าทีผลิ ่ ตขึนภายในประเทศ

๓๔.ข ้อใดเป็ นการลงทุนระหว่างประเทศทางตรง
ก. การลงทุนทางการเงิน
ข. การลงทุนโดยการซือขายหลั ้ กทร ัพย ์
ค. การโยกย ้ายเงินไปลงทุนในตลาดเงิน
ง. การลงทุนในการผลิตสินค ้าและบริการ
๓๕.“การค ้าทีมุ ่ ่งคุ ้มกันตลาดสินค ้าภายในประเทศโดยพยายามไม่ให ้ประเทศอืนส่ ่ ง
สินค ้าชนิ ดนั้น ๆ เข ้ามาแข่งขันกับผูผ ้ ลิตภายในประเทศ”

ข ้อความนี หมายถึ งข ้อใด
ก. การจากัดทางการค ้า
ข. การกีดกันทางการค ้า
ค. การส่งเสริมการนาเข ้า
ง. การแข่งขันทางการค ้า
๓๖.การผลิตสินค ้าเพือบริ ่ โภคอย่างพอเพียงทังชนิ ้ ดและปริมาณไม่ว่าจะมีการค ้าระ
หว่างประเทศหรือไม่ก็ตามตรงกับสานวนในข ้อใด
ก. น้าพึงเรื่ อเสือพึงป่ ่ า
ข. ตนเป็ นทีพึ ่ งแห่
่ งตน
ค. ตาน้าพริกละลายแม่น้า
ง. เข ้าเมืองตาหลิวต ่ ้องหลิวตาตาม

๓๗.ประเทศใดไม่ได้เข ้าร่วมเป็ นสมาชิกอาเซียน
ก. สิงคโปร ์
ข. กัมพูชา
ค. มาเลเซีย
ง. โปรตุเกส
๓๘.กลุ่มทางเศรษฐกิจกลุ่มใดทีประเทศในทวี ่ ปเอเชียไม่ได้เป็ นสมาชิก
ก. EU
ข. APEC
ค. AFTA
ง. NAFTA
๓๙.ข ้อใดเป็ นการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจขันต ้ ้น
ก. เขตการค ้าเสรี ข. สหภาพศุลกากร
ค. สหภาพเศรษฐกิจ ง. สหภาพเหนื อชาติ
๔๐.กลุ่มทางเศรษฐกิจในข ้อใดมีนโยบายการขนส่งระหว่างประเทศร่วมกัน
ก. ตลาดร่วม
ข. สหภาพศุลกากร
ค. สหภาพเศรษฐกิจ
ง. สหภาพเหนื อชาติ

๔๑.การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจในระดับใดทีประเทศสมาชิ กสามารถกาหนดพิกด
ั อั
ตราภาษีศุลกากร หรือข ้อจากัดทางการค ้าอืน ่ ๆ
่ ใช่ภาษีศุลกากรกับประเทศนอกกลุ่มได ้อย่างเสรี
ทีไม่
ก. เขตการค ้าเสรี
ข. สหภาพศุลกากร
ค. สหภาพเศรษฐกิจ
ง. สหภาพเหนื อชาติ
๔๒.ข ้อใดไม่ใช่เป้ าหมายของการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ

ก. การจัดตังเขตการค ้าเสรี
ข. การกาหนดนโยบายร่วมกัน
ค. การเคลือนย่ ้ายปัจจัยการผลิตอย่างเสรี

ง. การหลีกเลียงภาษี การนาเข ้าและการส่งออก
๔๓.ปัจจุบน
ั เอเปกมีสมาชิกจานวนเท่าใด
ก. ๒๐ เขตเศรษฐกิจ
ข. ๒๑ เขตเศรษฐกิจ
ค. ๒๒ เขตเศรษฐกิจ
ง. ๒๔ เขตเศรษฐกิจ

้ อหลักการความร่วมมือของเอเปกยกเว ้นข ้อใด


๔๔.ข ้อต่อไปนี คื
ก. หลักผลประโยชน์รว่ มกัน
ข. หลักการยกเลิกมาตรการภาษี
ค. การเป็ นเวทีสาหร ับปรึกษาหารือ
ง. หลักฉันทามติในการดาเนิ นการใด ๆ
๔๕.ประเทศใดไม่ได้เป็ นสมาชิกของเขตการค ้าเสรีอเมริกาเหนื อ
ก. ร ัสเซีย
ข. เม็ กซิโก
ค. แคนาดา ง. สหร ัฐอเมริกา
๔๖.การจัดให ้มีกาลังทหาร
อาวุธยุทโธปกรณ์และเทคโนโลยีททั ่ี นสมัยเป็ นบทบาทหน้าทีของร
่ ัฐบาลในการพั
ฒนาประเทศในด ้านใด
ก. ด ้านการต่างประเทศ
ข. ด ้านความมั่นคงของร ัฐ
ค. ด ้านกฎหมายและการยุตธิ รรม
ง. ด ้านการบริหารราชการแผ่นดิน
๔๗.ข ้อใดเป็ นสินค ้าสาธารณะ
ก. บ ้านเช่า โรงเรียน
ข. ถนน โรงพยาบาล
ค. ร ้านค ้า รถโดยสารประจาทาง
ง. ร ้านอินเทอร ์เน็ ต ห ้างสรรพสินค ้า
๔๘.วิธก ่ จากัดมักนามาใช ้เมือใด
ี ารปันส่วนสินค ้าทีมี ่
ก. ภาวะเงินฝื ด
ข. ภาวะเงินเฟ้ อ
ค. ภาวะสงคราม
ง. ภาวการณ์ว่างงาน
๔๙.สินค ้าในข ้อใดควรมีการกาหนดราคาขันสู ้ ง
ก. รถยนต ์
่ กผา้
ข. เครืองซั
ค. น้าตาลทราย
ง. ผักและผลไม้

๕๐.หน่ วยงานใดมีหน้าทีในการจั ดเก็บภาษีอากร
ก. กรมการค ้า
ข. กรมสรรพากร
ค. กระทรวงการคลัง
ง. สานักนายกร ัฐมนตรี

Вам также может понравиться