Вы находитесь на странице: 1из 134

การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส

ในการดาเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ
(Integrity & Transparency Assessment: ITA)
ประจำปี งบประมำณ พ.ศ.2562
โ ด ย น า ง ส า ว ช นิ ด า อ า ค ม วั ฒ น ะ
หั ว ห น้ ำ ก ลุ่ ม พั ฒ น ำ ร ะ บ บ แ ล ะ วิ ช ำ ก ำ ร
สำ นั ก ป ร ะ เ มิ น คุ ณ ธ ร ร ม แ ล ะ ค ว ำ ม โ ป ร่ ง ใ ส
สำ นั ก ง ำ น ค ณ ะ ก ร ร ม ก ำ ร ป้ อ ง กั น แ ล ะ ป ร ำ บ ป ร ำ ม ก ำ ร ทุ จ ริ ต แ ห่ ง ช ำ ติ 1
ทบทวน ITA

2
ITA คืออะไร
หน้าที่และอานาจของคณะกรรมการ ป.ป.ช. มาตรการการป้ องกันการทุจริตเชิงรุกที่มี
ประสิทธิภาพ
 ในรูปแบบเครื่ องมื อกำรประเมิ น สะท้อนผ่ ำนกำรรั บรู ้
ของบุ คลำกรในองค์กร ผู ม้ ำรับบริกำร ผู ม้ ี ส่วนได้ส่วน
เสี ย ตลอดจนควำมพร้อ มในกำรเปิ ดเผยข้อ มู ล ต่ อ
สำธำรณะ
 กรอบกำรประเมิ นก ำหนดให้ หน่ ว ยงำนที่ เ ข้ำ รับ กำร
ประเมิ น จัดทำมำตรกำรส่ง เสริ ม คุ ณ ธรรมและควำม
โปร่ ง ใส พั ฒ นำระบบงำน ออกแบบกลไกและวำง
หลัก กำรบริ ห ำรรำชกำรที่ ดี ปรับ ปรุ ง แก้ไ ข ขั้น ตอน
วิธีกำรปฏิบัติงำนต่ำงๆ ที่ เกี่ยวข้อง เพื่อลดโอกำสที่ จะ
ทำให้เกิดกำรทุ จริตในหน่ วยงำน รวมถึ งเปิ ดเผยข้อมูล
หรื อ ข่ ำ วสำรสำธำรณะในครอบครอง ได้ อ ย่ ำ ง
มีประสิทธิภำพ
 กระตุ ้น ให้ห น่ วยงำนตระหนั ก และส่ ง เสริ ม ให้เ กิ ด
วัฒนธรรมและค่ำนิ ยมสุ จริตในองค์กรรวมถึ งปรับฐำน
คิดให้มีควำมถูกต้อง
3

ตำมพระรำชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่ำด้วยกำรป้ องกันและปรำบปรำมกำรทุจริต พ.ศ.2561


วัตถุประสงค์ของการประเมิน

1. เพื่อให้หน่ วยงำนที่รบั กำรประเมินทรำบถึงระดับคุณธรรมและควำมโปร่งใสเป็ นประจำทุกปี


2. เพื่อให้หน่ วยงำนที่รบั กำรประเมินเกิดควำมตระหนัก และนำกรอบกำรประเมินที่กำหนดไปดำเนิ นกำร
จัดทำมำตรกำรส่งเสริมคุณธรรมและควำมโปร่งใส พัฒนำระบบงำน ออกแบบกลไกและวำงหลักกำร
บริหำรรำชกำรที่ดี ปรับปรุงแก้ไข ขั้นตอน วิธีกำรปฏิบตั ิงำนต่ำงๆ ที่เกี่ยวข้อง เพื่ อลดโอกำสที่จะทำให้
เกิ ด กำรทุ จ ริ ต ในหน่ ว ยงำน รวมถึ ง เปิ ดเผยข้อ มู ล หรื อ ข่ ำ วสำรสำธำรณะในครอบครอง ได้อ ย่ำ ง
มีประสิทธิภำพ
3. เพื่อให้หน่ วยงำนนำกรอบกำรประเมินที่กำหนดไปส่งเสริมให้เกิดวัฒนธรรมและค่ำนิ ยมสุ จริตในองค์กร
รวมถึงปรับฐำนคิดให้มีควำมถูกต้อง
4. เพื่อน ำข้อมูลผลกำรประเมิน ไปสู่ กำรปรับปรุ งหน่ วยงำนที่ รับกำรประเมิน และกำรวำงแผนในกำร
ป้ องกันกำรทุจริตทั้งระดับนโยบำยและระดับปฏิบตั ิ
4
ITA : มำตรกำรกำรป้ องกันกำรทุจริตเชิงรุก
และสื่อสารองค์กรให้เกิดการรับรูอ้ ย่างต่อเนื่อง
ปรับสภาพแวดล้อมในองค์กรให้เกื้อหนุน

การวางมาตรการ กลไกการบริหาร
ราชการที่ดี
 ออกแบบระบบ มำตรฐำน กระบวนกำร วิธีปฏิบตั ิ จนเป็ นงำนประจำ 1. คุณธรรม
 สอบทำน วิเครำะห์ควำมเสี่ยง ระเบียบ แนวทำงปฏิบตั ิ ที่ยงั เป็ นช่องทำง 2. โปร่งใส
ลดกำรทุจริต มีควำมโปร่งใส ไม่ละเมิด
ให้เกิดกำรทุจริต หรือ ผลประโยชน์ทบั ซ้อน 3. เป็ นไปตามหลักกฎหมาย
4. มีส่วนร่วม กฎหมำย จริยธรรม จรรณยำบรรณ
 กำหนดแนวทำงที่ชดั เจนในกำรป้ องกันกำรทุจริต 5. รับผิดชอบ
 เปิ ดเผยข้อมูลต่อสำธำรณะ 6. คุม้ ค่า

การควบคุมตนเอง ปรับฐำนคิด มีจิตสำนึ ก เกิดพฤติกรรม


ในระดับบุคคล ที่พึงประสงค์ พฤติกรรมสุจริต
มีวิธีคิด mindset
จิตสำนึ กที่ดี
 ส่งเสริมให้เกิดวัฒนธรรมองค์กรและค่ำนิ ยมสุจริต
 กำหนดประมวลจริยธรรม
 แนวปฏิบตั ิที่ดี 5
มติคณะรัฐมนตรี 23 มกราคม 2561

2 ให้หวั หน้ำส่วนรำชกำรให้
ควำมสำคัญกับกำรประเมิน
1 เห็นชอบให้หน่ วยงำน
ภำครัฐทุกหน่ วยงำนให้
ควำมร่วมมือและเข้ำร่วม
กำรประเมิน โดยใช้.... 3
ให้หน่ วยงำนกำกับดูแลส่วนรำชกำร
- ITA.2 พิจำรณำนำผลกำรประเมินให้
- ITAS
หน่ วยงำนกำกับดูแลส่วนรำชกำร
พิจำรณำนำผลกำรประเมิน
6
 ได้ศึ ก ษำข้อ มู ล ทำงวิ ช ำกำรต่ ำ งๆ ที่ เ กี่ ย วข้อ งกั บ
กำรออกแบบและพัฒนำเครื่ องมื อกำรประเมิ น ด้ำ น
ITA.2 ควำมโปร่ ง ใส คุ ณ ธรรมจริ ย ธรรม และกำรทุ จ ริ ต
ทั้งเครื่ องมื อของประเทศไทยและเครื่ องมื อในระดับ
สำกลเพิ่มเติม
 เพื่ อ พัฒ นำเกณฑ์ก ำรประเมิ น ให้ส ำมำรถเกิ ด กำร
ป้ องกันกำรทุจริตเชิงรุกได้อย่ำงมีประสิทธิภำพ
 กำรบู ร ณำกำรเครื่ อ งมื อ ส่ ง เสริ ม ด้ำ นคุ ณ ธรรมและ
ควำมโปร่งใส จำกหน่ วยงำนอื่นที่เกี่ยวข้อง เพื่ อให้
เป็ นไปในทิศทำงเดียวกัน
 ลดควำมซ้ำซ้อนของกำรดำเนิ นกำร และมุ่งเน้น กำร
คณะเศรษฐศำสตร์ จุฬำลงกรณ์มหำวิทยำลัย
ร่ ว ม ด ำ เ นิ น ก ำ ร ขั บ เ ค ลื่ อ น ด้ ำ น ธ ร ร ม ำ ภิ บ ำ ล
ในภำพรวมของประเทศ

7
ITA.2 Design Concept
ออกแบบและพัฒนาเกณฑ์การประเมิน พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
• กรอบการประเมิน • ระบบ ITA online
• ระเบียบวิธีการประเมิน • Design Concept

Research & Development กรอบการประเมินใหม่

• ศึกษาเพื่อปรับปรุงครั้งใหญ่ • Drive ทิศทางการป้องกันการ


ก้าวไปสู่ ITA#2 ทุจริต
• วิจัย • สอดรับกับการปฏิรูประบบ
• Benchmarking ราชการ 4.0
• ยกระดับ CPI
• เกิด Impact 8
International Standard
ITA.2
(User’s Guide to
Measuring Corruption
and Anti-Corruption)
UNDP Integrity Framework

ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปึ
Agenda Based
และแผนแม่บท ฯ แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12
รัฐธรรมนูญ ประเด็นการปฏิรูปประเทศ ยุทธศาสตร์ชาติฯ ระยะที่ 3

9
Agenda Based

10
ยุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ.2561 - 2580
• รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2560 มาตรา 65
• รัฐพึงจัดให้มียุทธศำสตร์ชำติเป็ นเป้ ำหมำยในกำรพัฒนำประเทศอย่ำงยัง่ ยืน
ตำมหลักธรรมำภิบำล
• พระราชบัญญัตกิ ารจัดทายุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ.2560 มาตรา 5
• บัญญัติให้มียุทธศำสตร์ชำติเป็ นเป้ ำหมำยในกำรพัฒนำประเทศอย่ำงยัง่ ยืนตำม
หลักธรรมำภิบำล เพื่อใช้เป็ นกรอบในกำรจัดทำแผนต่ำงๆ ให้สอดคล้องและ
บูรณำกำรกัน

11
ยุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ.2561 - 2580

1. ยุทธศาสตร์ดา้ นความมั ่นคง


2. ยุทธศาสตร์ดา้ นการสร้างความสามารถในการ
แข่งขัน
3. ยุทธศาสตร์ดา้ นการพัฒนาและเสริมสร้าง
ศักยภาพทรัพยากรมนุษย์
4. ยุทธศาสตร์ดา้ นการสร้างโอกาสและความเสมอ
ภาคทางสังคม
5. ยุทธศาสตร์ดา้ นการสร้างการเติบโตบนคุณภาพ
ชีวิตที่เป็ นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
6. ยุทธศาสตร์ดา้ นการปรับสมดุลและพัฒนาระบบ
การบริหารจัดการภาครัฐ
12
ยุทธศาสตร์ดา้ นการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ
เป้ าหมาย
 ภำครัฐมีวฒ ั นธรรมกำรทำงำนที่มุ่งผลสัมฤทธิ์และผลประโยชน์ส่วนรวม ตอบสนองควำมต้องกำรของประชำชนได้อย่ำงสะดวก
รวดเร็ว โปร่งใส
 ภำครัฐมีขนำดที่เล็กลง พร้อมปรับตัวให้ทนั ต่อกำรเปลี่ยนแปลง
 ภาครัฐมีความโปร่งใส ปลอดจากการทุจริตและประพฤติมิชอบ
 กระบวนกำรยุติธรรมเป็ นไปเพื่อประโยชน์ต่อส่วนรวมของประเทศ
ตัวชี้วัด
 ระดับควำมพึงพอใจของประชำชนต่อกำรให้บริกำรสำธำรณะของภำครัฐ
 ประสิทธิภำพของกำรบริกำรภำครัฐ
 ระดับความโปร่งใส การทุจริต ประพฤติมิชอบ
 ควำมเสมอภำคในกระบวนกำรยุติธรรม

13
ยุทธศาสตร์ดา้ นการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ
ประเด็นยุทธศาสตร์
1. ภำครัฐที่ยดึ ประชำชนเป็ นศูนย์กลำง ตอบสนองควำมต้องกำร และให้บริกำรอย่ำงสะดวก รวดเร็ว โปร่งใส
2. ภำครัฐบริหำรงำนแบบบูรณำกำรโดยมียุทธศำสตร์ชำติเป็ นเป้ ำหมำยและเชื่อมโยงกำรพัฒนำในทุกระดับ ทุกประเด็น
ทุกภำรกิจ และทุกพื้ นที่
3. ภำครัฐมีขนำดเล็กลง เหมำะสมกับภำรกิจ ส่งเสริมให้ประชำชนและทุกภำคส่วนมีส่วนร่วมในกำรพัฒนำประเทศ
4. ภำครัฐมีควำมทันสมัย
5. บุคลำกรภำครัฐเป็ นคนดีและเก่ง ยึดหลักคุณธรรม จริยธรรม มีจิตสำนึ ก มีควำมสำมำรถสูง มุง่ มัน่ และเป็ นมืออำชีพ
6. ภำครัฐมีควำมโปร่งใส ปลอดจำกกำรทุจริตและประพฤติมิชอบ
7. กฎหมำยมีควำมสอดคล้องเหมำะสมกับบริบทต่ำงๆ และมีเท่ำที่จำเป็ น
8. กระบวนกำรยุติธรรมเคำรพสิทธิมนุ ษยชนและปฏิบตั ิต่อประชำชนโดยเสมอภำค

14
15
แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ
เป้ าหมาย
 ประเทศไทยปลอดกำรทุจริตและประพฤติมิชอบ
ตัวชี้วัด
 ดัชนีการรับรูก้ ารทุจริตของประเทศไทย

ปี 61-65 ปี 66-70 ปี 71-75 ปี 76-80


50 57 62 73

16
คะแนนดัชนีการรับรูก้ ารทุจริตของประเทศไทย (CPI)
ปี 2538-2561
40 38
คะแนนภาพลักษณ์คอร์รปั ชัน (CPI)

36 38 38
35 37
36 36
35 35 35
33 32 32 34
31 33
30 33
30 32 32
28

25

20
2538 2539 2540 2541 2542 2543 2544 2545 2546 2547 2548 2549 2550 2551 2552 2553 2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561
28 33 31 30 32 32 32 32 33 36 36 38 36 33 35 34 35 37 35 38 38 35 37 36

(คิดจากรอบ 22 ปี )
ปี 2538 ได้คะแนนต ่าสุด 28 คะแนน
ปี 2549 ปี 2557 และ ปี 2558 ได้คะแนนสูงสุด 38 คะแนน
คะแนนเฉลี่ย 34 คะแนน
ที่มา : www.Transparency.org
หมายเหตุ : คะแนนอยูร่ ะหว่าง 0-100

17
แผนย่อย : การป้ องกันการทุจริตและประพฤติมิชอบ

เป้ าหมาย
 ประชำชนมีวฒ
ั นธรรมและพฤติกรรมซื่อสัตย์สุจริต
ตัวชี้วัด
 ร้อยละของหน่วยงานที่ผ่ำนเกณฑ์กำรประเมิน ITA

ปี 61-65 ปี 66-70 ปี 71-75 ปี 76-80


80 100 80 100
(85 คะแนนขึ้นไป) (85 คะแนนขึ้นไป) (90 คะแนนขึ้นไป) (90 คะแนนขึ้นไป)

18
ITA เป็ นเครื่องมือในการยกระดับ CPI

19
ฐานข้อมูลหลัก 9 แหล่งผลสารวจ CPI
แหล่งข้อมูล ประเด็นที่สง่ ผลต่อ CPI ของไทย ปี ปี ปี ปี ปี ปี
2555 2556 2557 2558 2559 2560
Bertelsmann Foundation : BFTI เรื่องการปราบปรามการทุจริตและบังคับใช้กฎหมายกับผูก้ ระทาผิด 45 40 40 40 40 37
Transformation index
มีประสิทธิภาพมากน้อยเพียงใด
Global Insight Country Risk : GI การดาเนินการทางธุรกิจต้องเกี่ยวข้องกับการทุจริตมากน้อยเพียงใด 42 32 42 42 22 35
Rating
Economist Intelligence Unit : EIU ความโปร่งใสและตรวจสอบได้ในการใช้จา่ ยงบประมาณภาครัฐ 38 38 38 38 37 37
Country Risk Assessment
IMD World Competitiveness : IMD การติดสินบนและการทุจริตมีอยูห่ รือไม่ และมากน้อยเพียงใด 38 36 33 38 44 43
World Economic Forum : WEF ภาคธุรกิจต้องจ่ายเงินสินบนในกระบวนการต่างๆ มากน้อยเพียงใด 35 35 39 43 37 42
Executive Opinion Survey (EOS)
Political and Economic Risk : PERC ปั ญหาการคอร์รปั ชันในประเทศ 35 39 35 42 38 N/A
Consultancy Asian Intelligence

World Justice Project Rule of : WJP เจ้าหน้าที่รฐั มีพฤติกรรมการใช้ตาแหน่งหน้าที่ในทางมิชอบมากน้อย 33 33 44 26 37 40


Law
เพียงใด
Political Risk Services : ICRG ผูม้ ีอานาจหรือตาแหน่งทางการเมืองมีการทุจริตโดยใช้ระบบอุปถัมภ์และระบบเครือ 31 31 31 31 32 32
International Country Risk Guide ญาติ และภาคการเมืองกับภาคธุรกิจมีความสัมพันธ์กนั มากน้อยเพียงใด
Varieties of Democracy Project : VD ความหลากหลายของประชาธิปไตย การเลือกตั้ง เสรีภาพ เปิ ดให้มีการแลกเปลี่ยน - - - - 24 23
ความคิดเห็น ความเห็นพ้องต้องกันของทุกฝ่ าย นอกจากนี้ ยังดูพฤติกรรมการคอร์รปั
ชันในระบบการเมืองในระดับฝ่ ายบริหาร ฝ่ ายนิติบญ
ั ญัติ และฝ่ ายตุลาการ
กำรประเมินคุณธรรมและควำมโปร่งใสในกำรดำเนิ นงำนของหน่ วยงำนภำครัฐ (ITA) มีสว่ น
ช่วยยกระดับดัชนี กำรรับรูก้ ำรทุจริต (CPI) อย่ำงมีนัยสำคัญ แต่ไม่ใช่ท้งั หมด
• การปฏิบัติหน้าที่ • คุณภาพการดาเนินงาน
• การใช้งบประมาณ • ประสิทธิภาพการสื่อสาร
• การใช้อานาจ • การปรับปรุงระบบการทางาน
• การใช้ทรัพย์สินของราชการ • การเปิดเผยข้อมูล
• การแก้ไขปัญหาการทุจริต • การป้องกันการทุจริต

21
แผนการปฏิรูปประเทศด้านการป้ องกันและ
ปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ
ประเด็นที่เกี่ยวข้องกับกำรพัฒนำกรอบกำรประเมิน ITA

22
แผนการปฏิรูปประเทศด้านการป้ องกันและปราบปราม
การทุจริตและประพฤติมิชอบ
• ประเด็นปฏิรูปที่ ๑ : ด้านการป้ องกันและเฝ้ าระวัง
• เฝ้ ำระวัง ตรวจสอบ และป้ องกันกำรทุจริตประพฤติมิชอบเพื่อให้กำรปฏิบตั ินโยบำยของรัฐเป็ นไปอย่ำงโปร่งใส ตรวจสอบได้ โดยรัฐจะสนั บสนุ นในด้ำน
นโยบำย กำรอำนวยควำมสะดวกกำรตรวจสอบต่ำง ๆ รวมถึงเสริมสร้ำงบทบำทกำรมีสว่ นร่วมของภำคประชำชนในกำรเสริมสร้ำงธรรมำภิบำลและ
ต่อต้ำนกำรทุจริตและประพฤติมิชอบ
• ประเด็นปฏิรูปที่ ๒ : ด้านการป้ องปราม (๑)
• ให้สว่ นรำชกำรมีกำรบริหำรงำนบุคคลที่เป็ นไปตำมระบบคุณธรรม (Merit System)
• ให้หวั หน้ำส่วนรำชกำร หัวหน้ำ หน่ วยงำนของรัฐ หรือผูบ้ งั คับบัญชำ มีมำตรกำรเสริมสร้ำงวัฒนธรรมองค์กรในกำรป้ องกันและปรำบปรำมกำรทุจริต
และประพฤติมิชอบ และบริหำรจัดกำรหน่ วยงำนตำมมำตรกำรต่อต้ำนกำรทุจริตและประพฤติมิชอบที่คณะกรรมกำร ป.ป.ช. กำหนดอย่ำง เคร่งครัด
และต่อเนื่ อง และให้มีกำรประเมินคุณธรรมและ ควำมโปร่งใสในหน่ วยงำน (Integrity and Transparency Assessment – ITA) ตำมระเบียบที่ ป.ป.ช.
กำหนดเป็ นประจำทุกปี
• วำงระบบกำรประเมินควำมเสี่ยง ต่อกำรทุจริตประพฤติมิชอบในส่วนรำชกำรเป็ นประจำทุกปี
• ให้มีมำตรกำรแนวทำงกำรลดกำรใช้ดุลยพินิจของเจ้ำพนักงำนของรัฐในกำรใช้อำนำจที่ได้รบั มอบ
• ให้ทุกหน่ วยงำนของรัฐประกำศ นโยบำยไม่รบั ประโยชน์ใด ๆ จำกกำร ปฏิบตั ิหน้ำที่
23
แผนการปฏิรูปประเทศด้านการป้ องกันและปราบปราม
การทุจริตและประพฤติมิชอบ
• ประเด็นปฏิรูปที่ ๒ : ด้านการป้ องปราม (๒)
• ให้หน่ วยงำนเผยแพร่ขอ้ มูลต่อสำธำรณะ โดยเร่งรัดให้มีดิจิทลั แพลตฟอร์ม เพื่อทำหน้ำที่ในกำรเผยแพร่ขอ้ มูลสำธำรณะ เรื่องร้องเรียน กำร
ให้บริกำรประชำชน รวบรวมและเปิ ดเผยข้อมูลกำรร้องเรียน ควำมพึงพอใจและควำมโปร่งใส ของกำรให้บริกำรของหน่ วยงำนรัฐ
• ให้หน่ วยงำนรัฐเปิ ดเผยข้อมูล แผนงานตามนโยบาย แผนการ ลงทุนของหน่วยงาน ซึ่งประกอบด้วย แผนกำรลงทุน ที่ได้รบั อนุ มตั ิ
จำกผูม้ ีอำนำจกรอบวงเงินงบประมำณและงบ ลงทุนที่ได้รบั กำรจัดสรรแต่ละปี ทุกประเภทรำยกำร จำกทุก แหล่งที่มำ พร้อมรำยงำนผล
กำรเบิกจ่ำยเงินงบประมำณของหน่ วยงำนทุกสิ้ นไตรมำส (ทุก ๓ เดือน) เพื่อเผยแพร่ถึงกำร บริหำรงบประมำณของส่วน รำชกำร/หน่ วยงำน
ของรัฐให้เป็ น ปั จจุบนั
• กำหนดให้ขอ้ มูลหรือข่ำวสำรสำธำรณะในครอบครองของ หน่ วยงำนของรัฐที่ถูกเปิ ดเผย ให้อำ้ งอิงหลักกำรเปิ ดเผยตำม แนวทำงเดียวกับของ
ภำคีสมำชิก ควำมร่วมมือเพื่อกำรเปิ ดเผยข้อมูลภำครัฐ (Open Government Partnership: OGP)

24
กลุ่มเป้ าหมายการประเมิน

25
กลุ่มเป้ าหมายการประเมิน
ITA.2

26
ประเมินโดย สำนักงำน ป.ป.ช. ผ่ำนระบบ ITAS
ITAS

27
Concept

28
Online
เป็ นศูนย์กลางในการเก็บรวบรวมข้อมูล ที่ การดาเนินการประเมินสามารถทาได้
ทันสมัย สำมำรถบริหำรจัดกำรข้อมูลได้อย่ำง อย่างรวดเร็ว และเป็ นมำตรฐำนเดียวกัน
มีประสิทธิภำพ ทัว่ ประเทศ

ตอบสนองต่อการนาข้อมูลไปสู่ การ
กากับติดตามการประเมินได้อย่างทัน ป รั บ ป รุ ง ห น่ ว ย ง า น ที่ รั บ ก า ร
สถานการณ์ รวมไปถึงสำมำรถวิเครำะห์ ประเมิ น และการวางแผนในการ
และประมวลผลกำรประเมินได้อย่ำง ป้ อ งกัน การทุ จ ริ ต ทั้ง ระดับนโยบำย
อัตโนมัติ และระดับปฏิบตั ิ

29
30
31
32
33
กรอบการประเมิน ITA.2

34
หลักการพื้นฐานในการออกแบบกรอบการประเมิน

1. ITA จะต้องสอดคล้องกับหลักกำรประเมินที่ดี อันได้แก่ Sensitive, Measurable, Precise, Simple and


Measurable at Low Cost, Practical และ Comparable
2. ITA จะต้องมีผตู ้ อบแบบสอบถำมที่หลำกหลำย ทั้งภำยในและภำยนอก แนวตั้งและแนวรำบ ได้แก่
ข้ำรำชกำรและบุคลำกรภำยในที่คละตำแหน่ งตั้งแต่ระดับล่ำงจนถึงระดับบน ผูใ้ ช้บริกำรที่เป็ น
ประชำชนทัว่ ไปจนถึงผูบ้ ริหำรระดับสูง และกลุ่มสำขำอำชีพต่ำง ๆ
3. ITA จะต้องเป็ นกำรประเมินทั้งกำรทุจริตทำงตรง (Hard Corruption) กำรทุจริตทำงอ้อม (Soft
Corruption) และกำรเปลี่ยนแปลงของกำรทุจริตในช่วงเวลำที่ผ่ำนมำ โดยเฉพำะกำรประเมินเกี่ยวกับ
ประสิทธิภำพกำรแก้ไขปั ญหำกำรทุจริตของหน่ วยงำน ที่จะต้องทำให้กำรทุจริตในหน่ วยงำนลดลง
หรือไม่มีเลย (Improvement) รวมถึงบริบทแวดล้อมที่เกี่ยวข้องกับกำรกำรทุจริตด้วย

35
หลักการพื้นฐานในการออกแบบกรอบการประเมิน (ต่อ)
4. หน่ วยงำนรำชกำรที่ ได้รับกำรประเมินต้องได้ประโยชน์ จำกกำรประเมิน และนำผลกำรประเมินไปกำร
ปรับปรุงและพัฒนำประสิทธิภำพในกำรปฏิบตั ิงำน และได้รบั ประโยชน์ ในมุมของกำรสื่อสำรภำพลักษณ์
องค์กร โดยเฉพำะกำรแสดงให้สงั คมและสำธำรณชนรับรูว้ ำ่ หน่ วยงำนให้ควำมสำคัญกับกำรเปิ ดเผยข้อมูล
และกำรป้ องกันกำรทุจริตในหน่ วยงำนอย่ำงไร และกำรดำเนิ นกำรดังกล่ำว ไม่เป็ นต้นทุนหรือ ภำระของ
หน่ วยงำนมำกเกินไป รวมทั้งต้องไม่เป็ นภำระกับบุคคลที่เข้ำร่วมกระบวนกำรประเมินด้วย
5. ITA จะต้องช่วยให้ CPI ของประเทศไทยดีขึ้นในระยะยำว โดยดัชนี ตอ้ งชัดเจนและเข้ำใจง่ำย เพื่อ ให้
องคำพยพในหน่ วยงำนมีเป้ ำหมำยร่วมกันในกำรพัฒนำหน่ วยงำนของตน
6. ITA จะต้องสร้ำงแรงจูงใจในกำรพัฒนำหน่ วยงำนในเชิงบวกมำกกว่ำทำให้เจ้ำหน้ำที่ของหน่ วยงำนรูส้ ึก
กังวล
7. ผลกำรประเมิน ITA ควรให้แนวทำงกำรพัฒนำที่ชดั เจนให้กบั หน่ วยงำนไปในตัว
36
หลักการและพื้นฐานในการอกแบบกรอบการประเมิน

1 2 3 4
ITA#2
สอดคล้องกับหลักการ พั ฒ นาคุ ณ ภาพและ เป็ นการประเมิน หน่ ว ยงานที่ เ ข้า รั บ
ประเมินที่ดี มาตรฐานความ •ก ำ ร ทุ จ ริ ต ท ำ ง ต ร ง การประเมินสามารถ
• Sensitive, โปร่ ง ใสให้ ทั น สมั ย (Hard Corruption) นาผลการประเมิน
• Measurable และเป็ นสากล • กำรทุ จริ ตทำงอ้ อ ม (Soft ไปปรับปรุงศักยภาพ
• Precise Corruption)
• Simple •กำรเปลี่ยนแปลงของกำรทุ จริ ต
• Measurable & Low Cost ใ น ช่ ว ง เ ว ล ำ ที่ ผ่ ำ น ม ำ
• Practical และ Comparable (Improvement)
•บริ บทแวดล้อมที่ เกี่ ยวข้องกับ
กำรป้ องกันกำรทุจริต
37
ตัวชี้วัดและเครื่องมือการประเมิน

38
10 ตัวชี้วัด กรอบการประเมิน
จะเป็ นประโยชน์ตอ่ หน่วยงานในการนาไปสูก่ ารปรับปรุงแก้ไขตนเอง
และส่งผลต่อการยกระดับ CPI ของประเทศไทย อย่างมีนยั สาคัญ แต่ไม่ใช่ทงั้ หมด
รวมถึงส่งเสริมให้เกิดความโปร่งใสและการเปิ ดเผยข้อมูลสาธารณะ ซึ่ งเป็ นทิศทางในระดับสากล

1) การปฏิบตั หิ น้าที่ (Bribery-Fraud) 6) คุณภาพการดาเนินงานของหน่วยงาน(Service Quality)


2) การใช้งบประมาณ (Budget Misallocation) 7) ประสิทธิภาพการสื่อสารของหน่วยงาน (Communication
3) การใช้อานาจ (Power Distortion) Efficiency)
4) การใช้ทรัพย์สินของทางราชการ(Asset 8) การปรับปรุงระบบการทางานของหน่วยงาน (Procedure
Misappropriation) Improvement)
5) การแก้ไขปั ญหาการทุจริต (Anti – Corruption 9) การเปิ ดเผยข้อมูล (Open Data)
Improvement 10) การป้ องกันการทุจริต (Anti – Corruption Practice)

39
3 เครื่องมือ จะเป็ นประโยชน์ตอ่ หน่วยงานในการนาไปสูก่ ารปรับปรุงแก้ไขตนเอง
และส่งผลต่อการยกระดับ CPI ของประเทศไทย อย่างมีนยั สาคัญ แต่ไม่ใช่ทงั้ หมด
รวมถึงส่งเสริมให้เกิดความโปร่งใสและการเปิ ดเผยข้อมูลสาธารณะ ซึ่ งเป็ นทิศทางในระดับสากล

แบบวัดกำรรับรูข้ องผูม้ ีส่วนได้ส่วนเสียภำยใน


Internal Integrity and Transparency Assessment (IIT)

แบบวัดกำรรับรูข้ องผูม้ ีส่วนได้ส่วนเสียภำยนอก


External Integrity and Transparency Assessment (EIT)

แบบตรวจกำรเปิ ดเผยข้อมูลสำธำรณะ
Open Data Integrity and Transparency Assessment (OIT)
40
การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดาเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ
ประจาปี งบประมาณ พ.ศ. 2562
กรอบการประเมิน
10 ตัวชี้วัด
3 เครื่องมือ
• การปฏิบตั หิ น้าที่
• การใช้งบประมาณ
• การใช้อานาจ แบบวัดการรับรูผ้ มู ้ ีส่วนได้ส่วนเสีย
• การใช้ทรัพย์สินของราชการ ภายใน (แบบ IIT)
ITAS • การแก้ไขปั ญหาการทุจริต
• คุณภาพการดาเนินงาน
• ประสิทธิภาพการสื่อสาร แบบวัดการรับรูผ้ มู ้ ีส่วนได้ส่วนเสีย
• การปรับปรุงระบบการทางาน ภายนอก (แบบ EIT)
• การเปิ ดเผยข้อมูล แบบตรวจการเปิ ดเผยข้อมูลสาธารณะ
• การป้ องกันการทุจริต (แบบ OIT)
IIT

•การปฏิบตั หิ น้าที่
•การใช้งบประมาณ
•การใช้อานาจ
•การใช้ทรัพย์สินของราชการ
•การแก้ไขปั ญหาการทุจริต

5 ตัวชี้วัด 30 คาถาม
แบบวัดกำรรับรูข้ องผูม้ ีส่วนได้ส่วนเสียภำยใน 42
EIT

•คุณภาพการดาเนินงาน
•ประสิทธิภาพการสื่อสาร
•การปรับปรุงระบบการทางาน

3 ตัวชี้วัด 15 คาถาม
แบบวัดกำรรับรูข้ องผูม้ ีส่วนได้ส่วนเสียภำยนอก
43
OIT

•การเปิ ดเผยข้อมูล
•การป้ องกันการทุจริต

2 ตัวชี้วัด 48 ข้อมูล
แบบตรวจกำรเปิ ดเผยข้อมูลสำธำรณะ 44
กรอบการประเมิน

45
แบบวัดการรับรูข้ องผูม้ ีส่วนได้ส่วนเสียภายใน
Internal Integrity and Transparency Assessment (IIT)
ผูม้ ีส่วนได้ส่วนเสียภายใน
หมายถึง คือ เจ้าหน้าที่และผูบ้ ริหารภายในหน่วยงานที่รบั การประเมิน
ที่ทางานมาแล้วอย่างน้อย 1 ปี งบประมาณในทุกระดับและทุกตาแหน่ง

46
หลักการออกแบบคาถาม (Questionnaire Design)
• การทุจริตทางตรง (Hard Corruption)
• การจ่ายสินบน (Bribery Fraud) เช่น กำรให้สินบนเพื่อให้ได้รบั สัญญำ กำรจ่ำยสินบนเพื่อเร่งหรือชะลอกระบวนกำร
• การใช้งบประมาณอย่างถูกต้องและเหมาะสม (Budget Misallocation) เช่น กำรใช้งบประมำณเป็ นไปตำมระเบียบและ
ขั้นตอน กำรใช้งบประมำณมีควำมคุม้ ค่ำ กำรใช้ทรัพยำกรสำธำรณะเป็ นไปอย่ำงถูกต้อง
• การทุจริตทางอ้อม (Soft Corruption)
• การใช้อานาจโดยมิชอบ (Power Distortion) เช่น กำรแต่งตั้งโยกย้ำยที่ไม่เป็ นธรรม กำรแจกจ่ำยภำระงำนที่ไม่เป็ นธรรม รวม
ไปถึงระบบอุปถัมภ์ และกำรแทรกแซงจำกหน่ วยงำนภำยนอกที่มีอำนำจมำกกว่ำ นอกจำกนี้ คำถำมเกี่ยวกับกำรใช้อำนำจโดย
มิชอบจะเป็ นกำรมุ่งประเมินผูบ้ ังคับบัญชำของผูต้ อบแบบสอบถำมเป็ นหลัก เพื่อให้เกิดประสิทธิ ผลในกำรประเมินกำรใช้
อำนำจ
• การใช้ทรัพย์สินของทางราชการเพื่อผลประโยชน์ส่วนตน (Asset Misappropriation) เช่น กำรใช้งบประมำณภำครัฐอย่ำง
ผิดวัตถุประสงค์ กำรใช้ทรัพย์สินของทำงรำชกำรเพื่อประโยชน์ส่วนตน
• การแก้ปั ญหาการทุ จ ริ ต (Corruption Improvement) แบ่ ง กลุ่ ม ค ำถำมตำมแนวคิ ด ขององค์ ก รควำมโปร่ ง ใสนำนำชำติ
(Transparency International: TI) โดย TI เช่น ควำมตั้งใจ มำตรกำร กำรแสดงออกของผูบ้ ริหำร กำรลงโทษหรือดำเนิ นคดีกบั
ผูก้ ระทำผิด ควำมสำเร็จของกำรแก้ไขปั ญหำกำรทุจริต
47
แบบวัดการรับรูข้ องผูม้ ีสว่ นได้สว่ นเสียภายใน
กรอบการประเมิน Internal Integrity and Transparency Assessment (IIT)

1 การปฏิบตั หิ น้าที่ (Bribery-Fraud)


ประเด็นคาถาม
 การให้บริการโปร่งใสตามขั้นตอนและระยะเวลาที่กาหนด
กำรปฏิบตั ิงำนของผูบ้ ริหำร กำรปฏิบตั ิงำนของ
ประเมิน หน่ วยงำน ของ

 การให้บริการอย่างเท่าเทียม
 พฤติกรรมการปฏิบัติงาน Core Function
(ภำพรวมของหน่ วยงำน

 มุ่งผลสาเร็จของงาน
ตนเอง

บุคลำกร)

 ให้ความสาคัญกับงานมากกว่าธุระส่วนตัว
 พร้อมรับผิดชอบ หากความผิดพลาดเกิดจากตนเอง
กลุ่มคาถามที่ประเมินระบบ  พฤติกรรมการปฏิบัติงาน (ต่อ)
(System Evaluation)  การเรียกรับฯ จากผู้มาติดต่อหรือผู้มารับบริการ เพื่อแลกกับการอนุมัติ
กลุ่มคาถามที่ประเมินพฤติกรรม อนุญาต หรือให้บริการ
(Behavior Evaluation)
 การรับโดยธรรมจรรยา
กลุ่มคาถามที่ประเมินวัฒนธรรม
(Culture Evaluation)
 การให้ฯ แก่บุคคลภายนอกหรือบริษัทเอกชน เพื่อสร้างความสัมพันธ์ที่ดีและ
คาดหวังให้มีการตอบแทนในอนาคต 48
ตัวชี้วัดที่ 1 : การปฏิบตั หิ น้าที่ (Bribery-Fraud) ต้องเตรียมอะไร

• งานภารกิจหลัก : กำรปฏิบตั ิงำนอย่ำงมีมำตรฐำน คูม่ ือ (จนกลำยเป็ นสิ่งต้องปฏิบตั ิเป็ นงำนประจำ) /


นโยบำยของฝ่ ำยบริหำรที่ตอ้ งให้ควำมสำคัญในเรื่องดังกล่ำว /กำรสื่อสำรองค์กรว่ำองค์กรของเรำเป็ น
องค์กรที่มีมำตรฐำน โปร่งใส ไม่เลือกปฏิบตั ิ
• นโยบายผูบ้ ริหารระดับสูง : นโยบำยกำรป้ องกันกำรรับสินบน / นโยบำยกำรไม่รบั ของขวัญ (เชื่อมโยง
กับตัวชี้ วัดที่ 10 ได้)
• การพัฒนาบุคลากร / การประเมินผลบุคลากร : มุง่ ผลสำเร็จของงำน พร้อมรับผิดชอบ ไม่ทุจริตเวลำ
รำชกำร
• การสื่อสารองค์กรให้บุคลากรได้รบั รู ้ : สื่อสำร ประชำสัมพันธ์ บอร์ด info graphic อย่ำงง่ำย group line
กำรถ่ำยทอดจำกผูบ้ ริหำรลงระดับบุคล ฯลฯ เพราะแบบสารวจถามเรื่องการ
รับรู ้ 49
แบบวัดการรับรูข้ องผูม้ ีสว่ นได้สว่ นเสียภายใน
กรอบการประเมิน Internal Integrity and Transparency Assessment (IIT)

2 การใช้งบประมาณ (Budget Misallocation)


กำรปฏิบตั ิงำนของผูบ้ ริหำร กำรปฏิบตั ิงำนของ

ประเด็นคำถำม
Budget $
Procurement
ประเมิน หน่ วยงำน ของ

 การรับรูถ้ ึงรายละเอียดงบประมาณรายจ่ายประจาปี
 การใช้จา่ ยงบประมาณของ หน่วยงาน
(ภำพรวมของหน่ วยงำน


ตนเอง

กำรใช้จำ่ ยเงินงบประมำณ ที่คุม้ ค่ำ ไม่บิดเบือนวัตถุประสงค์


บุคลำกร)

กลุ่มคาถามที่ประเมินระบบ  กำรใช้งบประมำณ เพื่อประโยชน์ส่วนตัว กลุ่ม หรือพวกพ้อง



(System Evaluation)
กลุ่มคาถามที่ประเมินพฤติกรรม การเบิกจ่ายเงินงบประมาณที่เป็ นเท็จ
(Behavior Evaluation)  การจัดซื้อจัดจ้างและการตรวจรับ
กลุ่มคาถามที่ประเมินวัฒนธรรม
(Culture Evaluation)  โปร่งใส ตรวจสอบได้
 เอื้ อประโยชน์ให้ผูป้ ระกอบกำรรำยใดรำยหนึ่ ง
 การมีส่วนร่วมในการตรวจสอบการใช้งบประมาณ 50
ตัวชี้วัดที่ 2 : การใช้งบประมาณ (Budget Misallocation) ต้องเตรียมอะไร

• นโยบายผูบ้ ริหารระดับสูง : นโยบำยกำรจัดซื้ อจัดจ้ำงที่โปร่งใส แจ้งแนวปฏิบตั ิ ขั้นตอน ต่ำง ๆ เพื่อ


เป็ นกำรวำงหลักกำรปฏิบตั ิงำน และต้องประกำศนโยบำยดังกล่ำวให้ทุกภำคส่วนได้ทรำบ และต้องลงมือ
ปฏิบตั ิอย่ำงต่อเนื่ อง จนกลำยเป็ นงำนประจำ (เชื่อมโยงกับตัวชี้ วัดที่ 10 ได้)
• การเงินการคลังและงานพัสดุ : กำรเผยแพร่ขอ้ มูล กำรตรวจสอบเรื่องผลประโยชน์ทบั ซ้อน กำรเผยแพร่
ข้อมูลกำรจัดซื้ อจัดจ้ำง
• การสื่อสารองค์กรให้บุคลากร และคู่คา้ คู่สญ ั ญา ตัวแทน ได้รบั รู ้ ถึงนโยบายและแนวปฏิบตั :ิ
สื่อสำร ประชำสัมพันธ์ บอร์ด info graphic อย่ำงง่ำย group line กำรถ่ำยทอดจำกผูบ้ ริหำรลงระดับบุคล
ฯลฯ เพราะแบบสารวจถามเรื่องการรับรู ้
51
แบบวัดการรับรูข้ องผูม้ ีสว่ นได้สว่ นเสียภายใน
กรอบการประเมิน Internal Integrity and Transparency Assessment (IIT)

3 การใช้อานาจ (Power Distortion)


กำรปฏิบตั ิงำนของผูบ้ ริหำร กำรปฏิบตั ิงำนของ

ประเด็นคำถำม
Management
HRM HRD
ประเมิน หน่ วยงำน ของ

 การมอบหมายงานอย่างเป็ นธรรม
 การประเมินความดีความชอบ ตามระดับคุณภาพของผลงาน
(ภำพรวมของหน่ วยงำน

 การคัดเลือกผูเ้ ข้ารับการฝึ กอบรม การศึกษาดูงาน หรือการให้


ตนเอง

บุคลำกร)

ทุนการศึกษา อย่างเป็ นธรรม


กลุ่มคาถามที่ประเมินระบบ
(System Evaluation)  การสั ่งการให้ทาธุระส่วนตัว
กลุ่มคาถามที่ประเมินพฤติกรรม
(Behavior Evaluation)
 การสั ่งการให้ทาในสิ่งที่ไม่ถูกต้องหรือมีความเสี่ยงต่อการทุจริต
กลุ่มคาถามที่ประเมินวัฒนธรรม  การบริหารงานบุคคล
(Culture Evaluation)  ถูกแทรกแซงจำกผูม้ ีอำนำจ
 มีกำรซื้ อขำยตำแหน่ ง
 เอื้ อประโยชน์ให้กลุ่มหรือพวกพ้อง 52
ตัวชี้วัดที่ 3 : การใช้อานาจ (Power Distortion)ต้องเตรียมอะไร

• นโยบายผูบ้ ริหารระดับสูง : นโยบำยกำรบริหำรงำนที่เป็ นธรรม


• พฤติกรรมของผูบ้ งั คับบัญชาแต่ละระดับ : แนวปฏิบตั ิตน สิ่งที่หวั หน้ำงำนควรทรำบ (ในฐำนะผูถ้ ูก
ประเมิน)
• นโยบำยกำรบริหำรงำนบุคคลที่โปร่งใส : เชื่อมโยงกับข้อ open data ได้
• การสื่อสารองค์กรให้บุคลากร ได้รบั รู ้ ถึงนโยบายและแนวปฏิบตั ทิ ี่เกี่ยวข้องกับการบริหารงาน
บุคคล : สื่อสำร ประชำสัมพันธ์ บอร์ด info graphic อย่ำงง่ำย group line กำรถ่ำยทอดจำกผูบ้ ริหำรลง
ระดับบุคล ฯลฯ เพราะแบบสารวจถามเรื่องการรับรู ้
53
แบบวัดการรับรูข้ องผูม้ ีสว่ นได้สว่ นเสียภายใน
กรอบการประเมิน Internal Integrity and Transparency Assessment (IIT)

4 การใช้ทรัพย์สินของราชการ (Asset Misappropriation)


ประเด็นคำถำม
 สถานการณ์การนาทรัพย์สินของราชการไปใช้
Asset
 บุคลำกรในหน่ วยงำนของท่ำน มีกำรเอำทรัพย์สินของรำชกำร ไปเป็ นของส่วนตัว หรือ
นำไปให้กลุ่มหรือพวกพ้อง
 ขั้นตอนการขออนุญาตเพื่อยืมทรัพย์สินของราชการ ไปใช้ปฏิบตั งิ านใน
กลุ่มคาถามที่ประเมินระบบ
(System Evaluation) กฎระเบียบที่เป็ น
ทำงกำรและเป็ นลำยลักษณ์อกั ษร หน่วยงานของท่าน มีความสะดวก มากน้อยเพียงใด
กลุ่มคาถามที่ประเมินพฤติกรรม
(Behavior Evaluation)  บุคคลภายนอกหรือภาคเอกชน มีการนาทรัพย์สินของราชการไปใช้ โดยไม่ได้
กลุ่มคาถามที่ประเมินวัฒนธรรม
(Culture Evaluation)
ขออนุญาตอย่างถูกต้อง จากหน่วยงานของท่าน มากน้อยเพียงใด
 การรับรูต้ อ่ แนวปฏิบตั เิ กี่ยวกับการใช้ทรัพย์สินของราชการ
 การกากับดูแลและตรวจสอบการใช้ทรัพย์สินของราชการ 54
ตัวชี้วัดที่ 4 : การใช้ทรัพย์สินของราชการ (Asset Misappropriation)
ต้องเตรียมอะไร

• การสร้างวัฒนธรรมองค์กร : ปรับฐำนคิด แยกให้ออก อะไรคือของส่วนตัว อะไรคือของหลวง ของ


องค์กร กำรสื่อสำรและให้ควำมรู ้
• ฝ่ ายบริหารที่เกี่ยวข้อง : ข้อสัง่ กำร แนวปฏิบตั ิ กำรใช้ทรัพย์สินทำงรำชกำร :
• การสื่อสารองค์กรให้บุคลากร ได้รบั รู ้ ถึงนโยบายและแนวปฏิบตั ทิ ี่เกี่ยวข้องกับวัฒนธรรมใหม่
แยกให้ออก ของส่วนตัว ของหลวง และแนวปฏิบตั กิ ารใช้ทรัพย์สินทางราชการ : สื่อสำร
ประชำสัมพันธ์ บอร์ด info graphic อย่ำงง่ำย group line กำรถ่ำยทอดจำกผูบ้ ริหำรลงระดับบุคล ฯลฯ
เพราะแบบสารวจถามเรื่องการรับรู ้
55
แบบวัดการรับรูข้ องผูม้ ีสว่ นได้สว่ นเสียภายใน
กรอบการประเมิน Internal Integrity and Transparency Assessment (IIT)

5 การแก้ไขปั ญหาการทุจริต (Anti – Corruption Improvement)


ประเด็นคำถำม
 บทบาทของผูบ้ ริหารสูงสุดในการให้ความสาคัญกับการแก้ไขปั ญหาทุจริต
 การดาเนินการเพื่อแก้ไขปั ญหาการทุจริต
 ทบทวนนโยบำยหรือมำตรกำรที่เกี่ยวข้องกับกำรป้ องกันกำรทุจริตในหน่ วยงำนให้
มีประสิทธิภำพ
กลุ่มคาถามที่ประเมินระบบ
(System Evaluation) กฎระเบียบที่เป็ นทำงกำรและเป็ น  จัดทำแผนงำนด้ำนกำรป้ องกันและปรำบปรำมกำรทุจริตของหน่ วยงำน
ลำยลักษณ์อกั ษร
กลุ่มคาถามที่ประเมินบทบาทผูบ้ ริหารในการแก้ไข
 ปั ญหำกำรทุจริตในหน่ วยงำนของท่ำน ได้รบั กำรแก้ไข มำกน้อยเพียงใด
ปั ญหาการทุจริต
(Leadership Evaluation)
กลุ่มคาถามที่ประเมินพฤติกรรม
(Behavior Evaluation)
กลุ่มคาถามที่ประเมินวัฒนธรรม (Culture Evaluation)
56
แบบวัดการรับรูข้ องผูม้ ีสว่ นได้สว่ นเสียภายใน
กรอบการประเมิน Internal Integrity and Transparency Assessment (IIT)

5 การแก้ไขปั ญหาการทุจริต (Anti – Corruption Improvement) (ต่อ)


กำรปฏิบตั ิงำนของผูบ้ ริหำร กำรปฏิบตั ิงำนของ

ประเด็นคำถำม

ประเมิน หน่ วยงำน ของ

การป้ องกันการทุจริตในหน่วยงาน
 กำรเฝ้ ำระวัง
 กำรตรวจสอบ
(ภำพรวมของหน่ วยงำน


ตนเอง

การนาผลการตรวจสอบของฝ่ ายตรวจสอบทั้งภายในและภายนอกหน่วยงาน
บุคลำกร)

ไปปรับปรุงการทางาน เพื่อป้ องกันการทุจริต


ฝ่ ำยตรวจสอบภำยใน หมำยถึง ส่วนงำนตรวจสอบภำยในของหน่ วยงำน
ฝ่ ำยตรวจสอบภำยนอก หมำยถึง หน่ วยงำนที่มีอำนำจหน้ำที่ตรวจสอบกำรดำเนิ นงำนของ
หน่ วยงำนภำครัฐ เช่น สำนักงำนกำรตรวจเงินแผ่นดิน (สตง.) เป็ นต้น

 กระบวนการจัดการเรื่องร้องเรียนการทุจริต

57
ตัวชี้วัดที่ 5 : การแก้ไขปั ญหาการทุจริต (Anti – Corruption Improvement)
ต้องเตรียมอะไร
• การประกาศนโยบายจากผูบ้ ริหารระดับสูง : ประกำศ กำรแสงเชิงสัญลักษณ์ มีแผนป้ องกันกำรทุจริต มี
มำตรกำรต่ำงๆ ที่เกี่ยวข้อง และนำนโยบำยไปปฏิบตั ิจนกลำยเป็ นงำนประจำ (เชื่อมโยงกับตัวชี้ วัดที่ 10 ได้)
• ฝ่ าย...........: กำรจัดทำแผนป้ องกันกำรทุจริต
• ฝ่ ายตรวจสอบภายใน : กำรสื่อสำรให้เห็นว่ำ ได้มีกำรนำประเด็นข้อสังเกตไปปรับปรุงในกำรปฏิบตั ิงำนให้ดี
ขึ้ นอย่ำงไรบ้ำง
• ฝ่ าย.....................: จัดทำกระบวนกำรจัดกำรเรื่องร้องเรียน มีชอ่ งทำงอะไร มีกลไกกำรเฝ้ ำระวัง ตรวจสอบ
กำรทุจริตอย่ำงไรบ้ำง
• การสื่อสารองค์กรให้บุคลากร ได้รบั รู ้ ถึงนโยบายและแนวปฏิบตั ทิ ี่เกี่ยวข้องกับการป้ องกันการทุจริต
และสื่อให้เห็นว่าผูบ้ ริหารให้ความสาคัญกับเรื่องดังกล่าวอย่างไร อย่างต่อเนื่อง : สื่อสำร
ประชำสัมพันธ์ บอร์ด info graphic อย่ำงง่ำย group line กำรถ่ำยทอดจำกผูบ้ ริหำรลงระดับบุคล ฯลฯ
เพราะแบบสารวจถามเรื่องการรับรู ้ 58
IIT

59
IIT

60
IIT

61
IIT

62
แบบวัดการรับรูข้ องผูม้ ีส่วนได้ส่วนเสียภายนอก
External Integrity and Transparency Assessment (EIT)
ผูม้ ีส่วนได้ส่วนเสียภายนอก หมายถึง บุคคล นิติบุคคล บริษทั ห้างร้าน
หรือหน่วยงานภาครัฐอื่นที่มีการติดต่อกับหน่วยงานภาครัฐนั้น ๆ
โดยอาจเป็ นการติดต่อตั้งแต่เรื่องการขอข้อมูล การขอรับบริการ
หรือเรื่องที่มีมูลค่ามาก เช่น การประมูลสัมปทาน การขอใบอนุญาต รวมถึงบุคคล นิติบุคคล
บริษทั ห้างร้านที่เป็ นคู่สญ
ั ญา หรือร่วมยื่นข้อเสนอโครงการ จัดซื้ อจัดจ้าง ของหน่วยงานภาครัฐ
ภายในปี งบประมาณนั้น ๆ

63
ตารางวิเคราะห์ผมู ้ ีสว่ นได้สว่ นเสียภายนอก
ภารกิจของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คือ ผูร้ บั บริการ ผูม้ ีส่วนได้ส่วนเสียภายนอก คือ

1.

2.

3.

4.การจัดซื้อจัดจ้าง คู่คา้ ด้านการลงทุน คู่คา้ (ทั ่วไป) คู่สญ


ั ญา บริษัท ห้าง
ร้าน

64
ต้องเตรียมอะไร

• เตรียมจัดทาฐานข้อมูลรายชื่อผูม้ ีส่วนได้ส่วนเสียภายนอก (ช่วงรอบ 6 เดือนที่ผ่านมา)


• ระบุจานวนผูม้ ีส่วนได้ส่วนเสียภายนอก เพื่อให้ระบบ ITAS คานวณผูม้ ีส่วนได้ส่วนเสียภายนอกขั้นต ่า
•ใครทา ใครเก็บ แล้วจะส่งมาที่ใด เมื่อไหร่ อย่างไร
•Admin จะทาหน้าที่ key ฐานข้อมูลต่าง ๆ เหล่านั้น ใส่มาใน
excel ระบบ ITAS

65
EIT

66
หลักการออกแบบคาถาม (Questionnaire Design)
• มุ่งสะท้อนคุณภาพการให้บริการของหน่วยงาน Service Quality

คน เวลา เงิน
กระบวนการ ผลงาน
(Process) (Money) (Product)
(Man) (Time)

67
แบบวัดการรับรูข้ องผูม้ ีสว่ นได้สว่ นเสียภายนอก
กรอบการประเมิน External Integrity and Transparency Assessment (EIT)

6 คุณภาพการดาเนินงาน (Service Quality)


ประเด็นคำถำม
กำรรับรูข้ องผูม้ ีส่วนได้ส่วนเสีย

(กำรบริกำร กำรปฏิบตั ิงำน ภำพลักษณ์ มุมมอง)

 การปฏิบตั งิ าน/การให้บริการ ของเจ้าหน้าที่ โปร่งใสตามขั้นตอนและ


ภำยนอก ที่มีต่อ หน่ วยงำน

ระยะเวลาที่กาหนด
 การให้บริการอย่างเท่าเทียม
 การให้ขอ้ มูลที่ตรงไปตรงมา
 ประสบการณ์ตรงจากการติดต่อ หน่วยงาน
 กำรถูกร้องขอฯ ให้จำ่ ยฯ เพื่อแลกกับกำรอนุ มตั ิ อนุ ญำต หรือให้บริกำร
 การดาเนินงาน โดยคานึงถึงประโยชน์ของประชาชนและส่วนรวม
เป็ นหลัก มากน้อยเพียงใด
68
ตัวชี้วัดที่ 6 : คุณภาพการดาเนินงาน (Service Quality) ต้องเตรียมอะไร

• งานภารกิจหลัก : กำรปฏิบตั ิงำนอย่ำงมีมำตรฐำน คูม่ ือ (จนกลำยเป็ นสิ่งต้องปฏิบตั ิเป็ นงำนประจำ) /


นโยบำยของฝ่ ำยบริหำรที่ตอ้ งให้ควำมสำคัญในเรื่องดังกล่ำว /กำรสื่อสำรองค์กรว่ำองค์กรของเรำเป็ น
องค์กรที่มีมำตรฐำน โปร่งใส ไม่เลือกปฏิบตั ิ
• นโยบายผูบ้ ริหารระดับสูง : นโยบำยกำรป้ องกันกำรรับสินบน / นโยบำยกำรไม่รบั ของขวัญ (เชื่อมโยง
กับตัวชี้ วัดที่ 10 ได้)
• การพัฒนาบุคลากร / การประเมินผลบุคลากร : การให้บริการ จิตบริการ ความซื่อสัตย์ โปร่งใส
• การสื่อสารองค์กรให้ผมู ้ ีสวนได้ส่วนเสีย ผูม้ ารับบริการ ได้รบั รู ้ : สื่อสำร ประชำสัมพันธ์ บอร์ด info
graphic อย่ำงง่ำย group line กำรถ่ำยทอดจำกผูบ้ ริหำรลงระดับบุคล ฯลฯ เพราะแบบ
สารวจถามเรื่องการรับรู ้
69
หลักการออกแบบคาถาม (Questionnaire Design)
• ประสิทธิภาพการสื่อสาร Communication Efficiency

การแก้ไขข้อ
การสะท้อนผล การรายงานผล การร้องเรียน การติดตามผล
ร้องเรียน
(Feedback) (Reporting) (Complaint) (Monitoring)
(Recovery)

70
แบบวัดการรับรูข้ องผูม้ ีสว่ นได้สว่ นเสียภายนอก
กรอบการประเมิน External Integrity and Transparency Assessment (EIT)

7 ประสิทธิภาพการสื่อสาร (Communication Efficiency)


ประเด็นคำถำม
กำรรับรูข้ องผูม้ ีส่วนได้ส่วนเสีย

 การเผยแพร่ขอ้ มูลของหน่วยงาน
(กำรบริกำร กำรปฏิบตั ิงำน ภำพลักษณ์ มุมมอง)
ภำยนอก ที่มีต่อ หน่ วยงำน

 เข้ำถึงง่ำย
 มีชอ่ งทำงหลำกหลำย
 การเผยแพร่ผลงานหรือข้อมูลที่สาธารณชนควรรับทราบ
 มีช่องทางรับฟั งคาติชมหรือความคิดเห็นเกี่ยวกับการดาเนินงาน/การ
ให้บริการ
 การชี้แจงและตอบข้อกังวลสงสัยเกี่ยวกับการดาเนินงาน
 มีช่องทางรับฟั งคาติชมหรือความคิดเห็นเกี่ยวกับการให้บริการ
 มีช่องทางให้ผรู ้ บั บริการร้องเรียนการทุจริตของเจ้าหน้าที่ในหน่วยงาน
71
ตัวชี้วัดที่ 7 : ประสิทธิภาพการสื่อสาร (Communication Efficiency)
ต้องเตรียมอะไร
• ฝ่ ายบริหาร : กาหนดนโยบำยกำรเผยแพร่ขอ้ มูลต่อสำธำรณะ (เชื่อมโยงกับตัวชี้ วัดที่ 10 ได้)
• ฝ่ ายประชาสัมพันธ์ / สื่อสารองค์กร: สื่อสำรองค์กรในช่องทำงที่หลำกหลำย เข้ำถึงง่ำย
• การพัฒนา website
• มีช่องทำง ถำม ตอบ
• มีชอ่ งทำงกำรรับฟั งควำมคิดเห็น
• มีชอ่ งทำงกำรรับเรื่องร้องเรียน
• การสื่อสารองค์กรให้ผมู ้ ีสวนได้ส่วนเสีย ผูม้ ารับบริการ ได้รบั รู ้ : สื่อสำร ประชำสัมพันธ์ บอร์ด info
graphic อย่ำงง่ำย group line กำรถ่ำยทอดจำกผูบ้ ริหำรลงระดับบุคล ฯลฯ เพราะแบบ
สารวจถามเรื่องการรับรู ้
72
หลักการออกแบบคาถาม (Questionnaire Design)
• ปรับปรุงระบบการทางานของหน่วยงาน Procedure Improvement

การเปลี่ยนแปลง
ระดับความพอใจ ระดับความพอใจ ภาพลักษณ์
ความพอใจ
ต่อเจ้าหน้าที่ ต่อระบบ ความโปร่งใส
(Satisfaction Level ต่อเจ้าหน้าที่ (Satisfaction Level (Transparency
on Man) (Satisfaction on System) Perception)
Growth on Man)

73
แบบวัดการรับรูข้ องผูม้ ีสว่ นได้สว่ นเสียภายนอก
กรอบการประเมิน External Integrity and Transparency Assessment (EIT)

8 การปรับปรุงระบบงาน (Procedure Improvement)


ประเด็นคำถำม
กำรรับรูข้ องผูม้ ีส่วนได้ส่วนเสีย

(กำรบริกำร กำรปฏิบตั ิงำน ภำพลักษณ์ มุมมอง)


ภำยนอก ที่มีต่อ หน่ วยงำน

 การปรับปรุงคุณภาพการให้บริการ
 กำรปรับปรุงคุณภำพกำรปฏิบตั ิงำน/กำรให้บริกำรให้ดีขึ้น
 การนาเทคโนโลยีมาใช้ในการดาเนินงาน/การให้บริการให้เกิดความ
สะดวกรวดเร็วมากขึ้น
 การเปิ ดโอกาสให้มีส่วนร่วมในการปรับปรุงพัฒนาการดาเนินงาน/การ
ให้บริการ
 ความพยายามที่จะปรับปรุงการดาเนินงาน/การให้บริการ ให้มีความ
โปร่งใสมากขึ้น
74
ตัวชี้วัดที่ 8 : การปรับปรุงระบบงาน (Procedure Improvement)
ต้องเตรียมอะไร
• ฝ่ ายบริหาร ฝ่ ายพัฒนาระบบของแต่ละภารกิจ : ทิศทำงกำรปรับปรุงระบบงำนและกำรพัฒนำองค์กร โดย
เฉพำะงำนบริกำรที่เกี่ยวข้องกับผูร้ บั บริกำร และผูม้ ีส่วนได้ส่วนเสีย /กำรนำเทคโนโลยี /E service มำใช้ในกำร
พัฒนำงำนบริกำรให้มีควำมโปร่งใส สะดวก รวดเร็ว
• นโยบำยกำรเปิ ดโอกำสให้ผมู ้ ีส่วนได้ส่วนเสียได้มีส่วนร่วม : พยำยำมคิดในมุมมองกำรมีส่วนร่วมเพื่อร่วมกัน
พัฒนำองค์กรไปข้ำงหน้ำ พัฒนำนวัตกรรม แลกเปลี่ยนควำมร่วมมือ (เชื่อมโยงกับตัวชี้ วัดที่ 10 ได้)
• การพัฒนา website
• มีช่องทำง ถำม ตอบ
• มีช่องทำงกำรรับฟั งควำมคิดเห็น
• การสื่อสารองค์กรให้ผมู ้ ีสวนได้ส่วนเสีย ผูม้ ารับบริการ ได้รบั รู ้ : สื่อสำร ประชำสัมพันธ์ บอร์ด info graphic
อย่ำงง่ำย group line กำรถ่ำยทอดจำกผูบ้ ริหำรลงระดับบุคล ฯลฯ เพราะแบบสารวจถาม
เรื่องการรับรู ้ 75
แบบตรวจการเปิ ดเผยข้อมูลสาธารณะ
Open Data Integrity and Transparency Assessment
(OIT)

76
มุ่งเน้นการเปิ ดเผยข้อมูลตามทิศทางในระดับสากล
เช่น องค์กรความโปร่งใสนานาชาติ (Transparency International: TI)

มุ่งประเมินจากมุมมองของประชาชน/สาธารณชน

77
OIT

78
OIT

79
ต้องเตรียมอะไร

• เตรียม website
• เตรียมข้อมูล 48 ข้อมูล
• มีผบู ้ ริหาร หรือ คณะกรรมการ หรือ ผูต้ รวจสอบข้อมูล ก่อนนาขึ้น website
เพราะไม่มีการอุทธรณ์
• Admin ต้องทาความเข้าใจเบื้องต้น เพราะต้องเป็ นคนที่กรอกแบบการตรวจการ
เปิ ดเผยข้อมูลสาธารณะ หรือ OIT

80
OPEN
DATA
เอ...หน่วยงานราชการ Thailand
นี่เขาทาอะไรกันบ้างนะเนี่ย ?? 4.0
Disclose

การตั้งคาถามจากภาคประชาชน
81
แบบวัดการรับรูข้ องผูม้ ีสว่ นได้สว่ นเสียภายนอก
กรอบการประเมิน External Integrity and Transparency Assessment (EIT)

9 การเปิ ดเผยข้อมูล (Open Data)

เก็ บ ข้อ มู ล จำกหน่ ว ยงำนภำครัฐ ที่ เ ข้ำ รั บ กำร


• การพัฒนาสารสนเทศ
ประเมิ น ทั้ ง หมด โดยไม่ มี ก ำรคัด เลื อ กกลุ่ ม
• การมีเปิ ดเผยข้อมูล
ตัว อย่ ำ ง และจะเก็ บ ข้อ มู ล โดยการจัด จ้า ง
• การมีขอ้ มูลที่เป็ นปั จจุบนั
ผู ร้ ับ จ้า งตรวจสอบข้อ มู ล จากเว็ บ ไซต์ข อง
หน่วยงาน

82
Open Data Integrity and Transparency Assessment (OIT)
ตัวชี้วัดย่อยที่ 9.1 ข้อมูลพื้นฐาน
O1- O6 ข้อมูลพื้นฐาน
 โครงสร้างหน่วยงาน
 ข้อมูลผูบ้ ริหาร
 อานาจหน้าที่
 แผนการขับเคลื่อนหน่วยงาน
 ข้อมูลการติดต่อหน่วยงาน
ข้อมูลพื้นฐาน  กฎหมายที่เกี่ยวข้อง

83
Open Data Integrity and Transparency Assessment (OIT)
O7
 ข่าวประชาสัมพันธ์ทั ่วไป

ข่าวประชาสัมพันธ์

84
Open Data Integrity and Transparency Assessment (OIT)
O8 – O9
 Q&A
 Social Network

การปฏิสมั พันธ์ขอ้ มูล

85
Open Data Integrity and Transparency Assessment (OIT)
ตัวชี้วัดย่อยที่ 9.2 การบริหารงาน
O10 – O12
 แผนดาเนินงานประจาปี
 รายงานการกากับติดตามการดาเนินงาน รอบ 6 เดือน
 รายงานผลการดาเนินงานประจาปี

แผนการดาเนินงาน

86
Open Data Integrity and Transparency Assessment (OIT)
O13

 มาตรฐานการปฏิบตั งิ าน

การปฏิบตั งิ าน

87
Open Data Integrity and Transparency Assessment (OIT)
O14 – O17
 มาตรฐานการให้บริการ
 ข้อมูลเชิงสถิตกิ ารให้บริการ
 รายงานผลการสารวจความพึงพอใจการให้บริการ
 E–Service

การให้บริการ

หมายเหตุ: *เฉพาะหน่วยงานที่มีภารกิจเกี่ยวกับการให้บริการ ตาม พรบ.อานวยความสะดวก

88
Open Data Integrity and Transparency Assessment (OIT)
ตัวชี้วัดย่อยที่ 9.3 การบริหารเงินงบประมาณ
O18 – O20

 แผนการใช้จา่ ยงบประมาณประจาปี
 รายงานการกากับติดตามการใช้จา่ ยงบประมาณ รอบ 6 เดือน
 รายงานผลการใช้จา่ ยงบประมาณประจาปี

แผนการใช้จา่ ยงบประมาณประจาปี

89
Open Data Integrity and Transparency Assessment (OIT)
O21 – O24
 แผนการจัดซื้อจัดจ้างหรือแผนการจัดหาพัสดุ
 ประกาศต่าง ๆ เกี่ยวกับการจัดซื้อจัดจ้างหรือการจัดหาพัสดุ
 สรุปผลการจัดซื้อจัดจ้างหรือการจัดหาพัสดุรายเดือน
 รายงานผลการจัดซื้อจัดจ้างหรือการจัดหาพัสดุประจาปี

การจัดซื้อจัดจ้างหรือการจัดหาพัสดุ

90
Open Data Integrity and Transparency Assessment (OIT)
ตัวชี้วัดย่อยที่ 9.4 การบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล
O25 – O28
 นโยบายการบริหารทรัพยากรบุคคล
 การดาเนินการตามนโยบายการบริหารทรัพยากรบุคคล
 หลักเกณฑ์การบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล
 รายงานผลการบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคลประจาปี

การดาเนินการตามนโยบายการบริหารทรัพยากรบุคคล

ปรับแก้รายละเอียดตามสานักงาน ก.พ.

91
Open Data Integrity and Transparency Assessment (OIT)
ตัวชี้วัดย่อยที่ 9.5 การส่งเสริมความโปร่งใส
O29 – O33
 แนวปฏิบตั กิ ารจัดการเรื่องร้องเรียนการทุจริต
 ช่องทางแจ้งเรื่องร้องเรียนการทุจริต
 ข้อมูลเชิงสถิตเิ รื่องร้องเรียนการทุจริตประจาปี
 การเปิ ดโอกาสให้เกิดการมีส่วนร่วม
 ช่องทางการรับฟั งความคิดเห็น
 การเปิ ดโอกาสให้เกิดการมีส่วนร่วม

การจัดการเรื่องร้องเรียนการทุจริตและการเปิ ดโอกาสให้เกิดการมีส่วนร่วม

92
Open Data Integrity and Transparency Assessment (OIT)
กรอบการประเมิน แบบวัดการรับรูข้ องผูม้ ีสว่ นได้สว่ นเสียภายนอก
External Integrity and Transparency Assessment (EIT)

10 การป้ องกันการทุจริต (Anti – Corruption Practice)

•หน่วยงานได้แสดงให้สงั คมรับรูว้ ่าผูบ้ ริหารให้ความสาคัญกับการป้ องกันการ


ทุจริต

Open Data Integrity and Transparency Assessment (OIT) 93


ตัวชี้วัดย่อยที่ 10.1 การดาเนินการเพื่อป้ องกันการทุจริต
O34 – O41
 เจตจานงสุจริตของผูบ้ ริหาร
 การมีส่วนร่วมของผูบ้ ริหาร
 การประเมินความเสี่ยงการทุจริตประจาปี
 การดาเนินการเพื่อจัดการความเสี่ยงการทุจริต
 การเสริมสร้างวัฒนธรรมองค์กร
 แผนปฏิบตั กิ ารป้ องกันการทุจริตประจาปี
 รายงานการกากับติดตามการดาเนินการป้ องกันการทุจริต รอบ 6 เดือน
 รายงานผลการดาเนินการป้ องกันการทุจริตประจาปี

94
Open Data Integrity and Transparency Assessment (OIT)
ตัวชี้วัดย่อยที่ 10.2 มาตรการภายในเพื่อป้ องกันการทุจริต
O42 – O48
 มาตรการเผยแพร่ขอ้ มูลต่อสาธารณะ
 มาตรการให้ผมู ้ ีส่วนได้ส่วนเสียมีส่วนร่วม
 มาตรการส่งเสริมความโปร่งใสในการจัดซื้อจัดจ้าง
 มาตรการจัดการเรื่องร้องเรียนการทุจริต
 มาตรการป้ องกันการรับสินบน
 มาตรการป้ องกันการขัดกันระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนกับผลประโยชน์
ส่วนรวม
 มาตรการตรวจสอบการใช้ดลุ พินิจ

95
Open Data Integrity and Transparency Assessment (OIT)
96
97
Methodology

98
ITA Tools and ITA data
IIT
Internal
Integrity and
Transparency
Assessment
OIT
Open data
Integrity and
Transparency
EIT Assessment
External
Integrity and
Transparency
Assessment

99
IIT
Internal Integrity and Transparency Assessment
ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายใน ตัวชี้วัด
บุคลากรในหน่วยงานที่ทางานให้กับหน่วยงาน การปฏิบัติหน้าที่
มาเป็นระยะเวลาไม่น้อยกว่า 1 ปี ตั้งแต่ระดับ การใช้งบประมาณ
ผู้บริหาร ผู้อานวยการ/หัวหน้า ข้าราชการ/ การใช้อานาจ
พนักงาน ไปจนถึงลูกจ้าง/พนักงานจ้าง การใช้ทรัพย์สินของราชการ
การแก้ไขปัญหาการทุจริต

การเก็บข้อมูล
ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายในเข้า
กลุ่มตัวอย่าง ระบบ ITAS เพื่อตอบแบบ
ร้อยละ 10 ของจานวนผู้มีส่วนได้ สารวจด้วยตนเอง
ส่วนเสียภายใน ระหว่าง 30 – 100
ตัวอย่าง

100
EIT
External Integrity and Transparency Assessment
ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายนอก ตัวชี้วัด
บุคคล นิติบุคคล บริษัทเอกชน หรือ คุณภาพการดาเนินงาน
หน่วยงานของรัฐอื่นที่มารับบริการหรือมา ประสิทธิภาพการสื่อสาร
ติดต่อตามภารกิจของหน่วยงานใน การปรับปรุงระบบการทางาน
ปีงบประมาณที่ประเมิน
(*หน่วยงานจะต้องรวบรวมและจัดส่งรายชื่อ)

การเก็บข้อมูล#1
ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายนอก
กลุ่มตัวอย่าง เข้าระบบ ITAS เพื่อตอบแบบ
ร้อยละ 10 ของจานวนผู้มีส่วนได้ สารวจด้วยตนเอง
ส่วนเสียภายใน ระหว่าง 30 – 100
ตัวอย่าง การเก็บข้อมูล#2
ผู้รับจ้างสารวจข้อมูล โดยเก็บข้อมูลจากผู้มีส่วนได้ส่วน
เสียภายนอกตามบัญชีรายชื่อที่หน่วยงานรวบรวมและ
จัดส่งให้ หรือจากการสารวจภาคสนาม จากนั้นจึงนา
ข้อมูลเข้าสู่ระบบ ITAS 101
OIT
Open data Integrity and Transparency Assessment
หน่วยงาน ตัวชี้วัด
หน่วยงานที่รับการประเมินทุกหน่วยงาน การเปิดเผยข้อมูล
การป้องกันการทุจริต

การเก็บข้อมูล
หน่วยงานเข้าระบบ ITAS เพื่อ
กลุ่มตัวอย่าง ตอบแบบสารวจด้วยตนเอง
- หน่วยงานละ 1 ชุด

102
OIT
Open data Integrity and Transparency Assessment
วิธีการตอบ
การแสดงข้อมูลในแต่ละข้อ จะต้องเป็นการแสดงข้อมูลบนเว็บไซต์ของหน่วยงาน
- เป็นข้อความบรรยาย รูปภาพ หรือเนื้อหาในรูปแบบอื่น ๆ
- เป็นลิงค์ (link) บนหน้าเว็บไซต์ของหน่วยงาน ที่เชื่อมโยงไปยังข้อมูลที่อยู่ในรูปแบบ PDF ภาพถ่าย หรือเอกสารอื่น ๆ

ข้อจากัดข้อมูล
กรณีที่หน่วยงานมีข้อจากัด ทาให้
ไม่สามารถเผยแพร่ข้อมูลตามเกณฑ์การประเมินที่กาหนดได้ ให้หน่วยงานเผยแพร่เท่าที่สามารถ
ดาเนินการได้แล้วอธิบายเหตุผลประกอบ

ชื่อข้อมูล
หน่วยงานอาจใช้ชื่อเรียกข้อมูลที่แตกต่างจากรายการข้อมูลที่กาหนด แต่จะต้องมีรายละเอียดเนื้อหาที่สอดคล้อง
ตามเกณฑ์การประเมิน

จานวนข้อมูล
หน่วยงานสามารถส่งที่อยู่ของข้อมูลได้มากกว่า 1 ที่อยู่ ในแต่ละข้อ

103
ITA Score and Rating

104
ITA Score and Rating
IIT EIT OIT

30% 30% 40%

คะแนน คะแนน คะแนน


คะแนนข้อคาถาม คะแนนข้อคาถาม คะแนนข้อคาถาม
คะแนนตัวชี้วัด คะแนนตัวชี้วัด คะแนนตัวชี้วัดย่อย
คะแนนของแบบ IIT คะแนนของแบบ EIT คะแนนตัวชี้วัด
คะแนนของแบบ OIT

105
ITA Score and Rating

F E D C B A AA
(Fail) (Extremely Poor) (Poor) (Fair) (Good) (Very Good) (Excellence)
< 50 50 – 54.99 55 – 64.99 65 – 74.99 75 – 84.99 85 – 94.99 95 – 100

106
การใช้ ระบบ ITAS

107
การใช้งานระบบเทคโนโลยีสารสนเทศรองรับ
การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดาเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ
(Integrity and Transparency Assessment System: ITAS)
ขั้นตอนการทาแบบสารวจผูม้ ีส่วนได้ส่วนเสียภายใน (IIT)

ผู้ดูแลระบบหลัก ผู้ดูแลระบบของ บุคลากรในหน่วยงาน


(สานักงาน ป.ป.ช.) แต่ละหน่วยงาน (Admin)

ประชาสัมพันธ์
สร้างแบบสารวจ ส่งลิงค์ทาแบบสารวจ ตอบแบบสารวจของ
ให้ Admin ของแต่ละหน่วยงาน ให้บุคลากรในหน่วยงาน
หน่วยงานด้วยตนเอง
เข้ามาตอบแบบสารวจ
(ช่องทางภายใน)
ขั้นตอนการทาแบบสารวจผูม้ ีส่วนได้ส่วนเสียภายนอก (EIT) : กรณีตอบด้วยตนเอง

ผู้ดูแลระบบหลัก ผู้ดูแลระบบของ ผู้รับบริการ/ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย


(สานักงาน ป.ป.ช.) แต่ละหน่วยงาน (Admin) กับหน่วยงาน

สร้างแบบสารวจ ส่งลิงค์ทาแบบสารวจ ประชาสัมพันธ์ให้ผู้รับบริการ/ ตอบแบบสารวจของ


ให้ Admin ของแต่ละหน่วยงาน ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียกับหน่วยงาน
หน่วยงานด้วยตนเอง
เข้ามาตอบแบบสารวจ
(ช่องทางภายนอก)
ขั้นตอนการทาแบบสารวจผูม้ ีส่วนได้ส่วนเสียภายนอก (EIT) : กรณีเก็บข้อมูลโดยผู้รับจ้าง

ผู้ดูแลระบบหลัก ผู้ดูแลระบบของ
(สานักงาน ป.ป.ช.) แต่ละหน่วยงาน (Admin) ผู้รับจ้างสารวจ

ระบบส่งข้อมูล
ไปยังผู้รับจ้าง

สร้างแบบสารวจ นาเข้าข้อมูลผู้รับบริการ/ ดาเนินการสารวจ


ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียกับหน่วยงาน และตอบแบบสารวจในระบบ
ขั้นตอนการทาแบบตรวจการเปิดเผยข้อมูลสารธารณะ (OIT)

ผู้ดูแลระบบหลัก ผู้ดูแลระบบของ ผู้บริหารของแต่ละหน่วยงาน ผู้รับจ้างสารวจ


(สานักงาน ป.ป.ช.) แต่ละหน่วยงาน (Admin)

สร้างแบบสารวจ ตอบแบบสารวจ ตรวจสอบและอนุมัติ ตรวจสอบและให้คะแนน


ของหน่วยงานตนเอง ส่งคาตอบ
การเตรียมการของหน่วยงาน
ขั้นตอน รายละเอียด
1. เตรียมบุคลากร เพื่อทาหน้าที่เป็นผู้ดูแลระบบ - Admin ของหน่วยงาน จานวน 1 คน ทาหน้าที่ ดังนี้
ของหน่ ว ยงาน (Admin ของหน่ ว ยงาน) และ  ลงทะเบียนเข้ารับการประเมิน
ผู้บริหารที่รับผิดชอบการประเมินของหน่วยงาน  ประสานงานในขั้นดาเนินการประเมินกับผู้ที่เกี่ยวข้อง
 ตอบแบบตรวจการเปิดเผยข้อมูลสาธารณะ (แบบ OIT)
- ผู้บริหารที่รับผิดชอบการประเมินของหน่วยงาน จานวน 1 คน ทาหน้าที่ ดังนี้
 กากับดูแลการประเมินในภาพรวมของหน่วยงาน
 อนุมัติข้อมูล IIT และ EIT
 อนุมัติการตอบแบบตรวจการเปิดเผยข้อมูลสาธารณะ (แบบ OIT)
2. ส านั ก งาน ป.ป.ช. จั ด ส่ ง Username และ ประมาณเดือนมีนาคม
รหัสผ่าน สาหรับ Admin ของหน่วยงาน และ
ผู้บริหารที่รับผิดชอบการประเมินของหน่วยงาน ให้
หน่วยงาน
การเตรียมการของหน่วยงาน
ขั้นตอน รายละเอียด
3. Admin ของหน่วยงาน และผู้บริหาร - เมื่อ Admin ของหน่วยงาน และผู้บริหารที่รับผิดชอบการประเมินของหน่วยงาน เปิดใช้งาน
ที่รับผิดชอบการประเมินของหน่วยงาน รหั ส ผ่ า นแล้ ว ระบบจะก าหนดให้ ผู้ ใ ช้ ง านกรอกข้ อ มู ล ที่ จ าเป็ น พร้ อ มกั บ เปลี่ ย นรหั ส ผ่ า น
เปิดใช้งานรหัสผ่านในระบบ ITAS ก่อนดาเนินการใดๆ ในระบบ
- ข้อมูลที่จาเป็นต้องกรอก ได้แก่ ชื่อ-นามสกุล ตาแหน่ง เบอร์โทรศัพท์ e-mail และตราสัญลักษณ์
การเตรียมการของหน่วยงาน
ขั้นตอน รายละเอียด
4. หน่วยงานทบทวนจานวนผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย - ผู้ มี ส่ ว นได้ ส่ ว นเสี ย ภายใน หมายถึ ง บุ ค ลากรในหน่ ว ยงานที่ ท างานให้ กั บ หน่ ว ยงานมาเป็ น
ภายในของหน่วยงาน ระยะเวลาไม่น้ อยกว่า 1 ปี ตั้งแต่ระดับผู้บ ริหาร ผู้อานวยการ/หัวหน้า ข้ าราชการ/พนักงาน
ไปจนถึงลูกจ้าง/พนักงานจ้าง
5. Admin ของหน่ วยงาน กรอกจ านวนบุ ค ลากรใน
หน่วยงานในระบบ ITAS (สาหรับการเก็บข้อมูลตาม
แบบ IIT) และผู้บริหารทาการตรวจสอบ
การเตรียมการของหน่วยงาน
ขั้นตอน รายละเอียด
6. หน่วยงานจัดเตรียมข้ อมูลผู้มีส่วนได้ส่วน - หน่วยงาน Download แบบฟอร์มบัญชีรายชื่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายนอก (ไฟล์ Excel) จาก
เสียภายนอกของหน่วยงาน (สาหรับการเก็บ เว็บไซต์สานักงาน ป.ป.ช. และกรอกข้อมูลให้ครบถ้วน
ข้อมูลตามแบบ EIT) - ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายนอก หมายถึง บุคคล นิติบุคคล บริษัทเอกชน หรือหน่วยงานของรัฐอื่น
ที่มารับบริการหรือมาติดต่อตามภารกิจของหน่วยงานในปีงบประมาณที่ประเมิน
7. Admin ของหน่วยงาน นาข้อมูลผู้มีส่วนได้ - Admin ของหน่วยงาน นาข้อมูลผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายนอกของหน่วยงานเข้าระบบได้ 2 วิธี คือ
ส่ ว นเสี ย ภายนอกของหน่ ว ยงานเข้ า ระบบ 1. Upload ไฟล์ข้อมูลผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายนอกของหน่วยงานเข้าระบบ หรือ
ITAS 2. กรอกข้อมูลผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายนอกของหน่วยงานในระบบ
ขั้นดาเนินการประเมิน : แบบวัดการรับรู้ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายใน (IIT)
ขั้นตอน รายละเอียด

1. สานักงาน ป.ป.ช. จัดส่งช่องทางการเข้าระบบ - ช่องทางการเข้าระบบ จะอยู่ในลักษณะ URL และ QR Code ซึ่งเป็นช่องทาง


ITAS ให้แก่ Admin ของหน่วยงาน ทางระบบ เฉพาะของแต่ละหน่วยงาน
ITAS (ระบบ Notification ของผู้ใช้งาน) และ
e-mail

2. หน่วยงานประชาสัมพันธ์รายละเอียดการเข้า - การประชาสัมพันธ์ จะต้องเป็นการสื่อสารภายใน เช่น หนังสือเวียนภายใน


ระบบ ITAS แก่บุคลากรในหน่วยงาน ระบบ Intranet บอร์ดประชาสัมพันธ์ภายใน เป็นต้น เพื่อให้บุคลากรใน
หน่วยงานเข้าระบบและประเมินด้วยตนเอง
ขั้นดาเนินการประเมิน : แบบวัดการรับรู้ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายใน (IIT)
ขั้นตอน รายละเอียด
3. บุ ค ลากรในหน่ ว ยงานเข้ า ระบบ ITAS จาก URL - เมื่อบุคลากรในหน่วยงานเข้าระบบแล้ว จะต้องยืนยันตนเองด้วยการกรอกหมายเลขบัตร
และ QR Code และประเมินด้วยตนเอง ประชาชนของตนเองก่อนทาแบบสารวจ โดยระบบจะตรวจสอบความถูกต้องของเลข
บัตรประชาชนเท่านั้น ไม่เชื่อมโยงกับข้อมูลส่วนตัวของผู้ตอบแบบสารวจใดๆ ทั้งสิ้น
แต่ มี วั ต ถุ ป ระสงค์ ใ นการกรอกเพื่ อ ป้ อ งกั น การตอบซ้ าของผู้ ใ ช้ ง านและเพื่ อ ให้ ผ ลการ
ประเมินมีความคลาดเคลื่อนน้อยที่สุด
ขั้นดาเนินการประเมิน : แบบวัดการรับรู้ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายใน (IIT)
ขั้นตอน รายละเอียด
3. บุ ค ลากรในหน่ ว ยงานเข้ า ระบบ ITAS จาก URL
และ QR Code และประเมินด้วยตนเอง (ต่อ)
120
ขั้นดาเนินการประเมิน : แบบวัดการรับรู้ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายใน (IIT)
ขั้นตอน รายละเอียด
4. Admin ของหน่วยงาน และผู้บริหารที่รับผิดชอบ - จานวนตัวอย่างขั้นต่าขึ้นอยู่กับจานวนบุคลากรที่ Admin ของหน่วยงาน กรอกในระบบ
การประเมินของหน่วยงาน กากับติดตามการประเมิน ITAS โดยมีหลักเกณฑ์ ดังนี้
ตามแบบ IIT ให้ได้ตามจานวนตัวอย่างที่สานักงาน จานวนผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายใน ระหว่าง 30 – 100 ตัวอย่าง
ป.ป.ช. กาหนดในระบบ ITAS
จานวนผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายใน (คน) ขนาดตัวอย่างขั้นต่า (ตัวอย่าง)
1-30 ตามจานวนที่กรอก
31-300 30
301 – 1,000 ร้อยละ 10
1,001 ขึ้นไป 100
ขั้นดาเนินการประเมิน : แบบวัดการรับรู้ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายใน (IIT)
ขั้นตอน รายละเอียด
4. Admin ของหน่วยงาน และผู้บริหารที่รับผิดชอบ
การประเมินของหน่วยงาน กากับติดตามการประเมิน
ตามแบบ IIT ให้ได้ตามจานวนตัวอย่างที่สานักงาน
ป.ป.ช. กาหนดในระบบ ITAS (ต่อ)
ขั้นดาเนินการประเมิน : แบบวัดการรับรู้ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายนอก (EIT)

ขั้นตอน รายละเอียด
1. สานักงาน ป.ป.ช. จัดส่งช่องทางการเข้าระบบ - ช่องทางการเข้าระบบ จะอยู่ในลักษณะ URL และ QR Code ซึ่งเป็นช่องทาง
ITAS ให้แก่ Admin ของหน่วยงาน ทางระบบ เฉพาะของแต่ละหน่วยงาน
ITAS (ระบบ Notification ของผู้ใช้งาน) และ
e-mail

2. หน่วยงานประชาสัมพันธ์รายละเอียดการเข้า - การประชาสัมพันธ์ จะต้องเป็นการสื่อสารภายนอก เช่น เว็บไซต์ของหน่วยงาน


ระบบ ITAS แก่ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายนอก บอร์ดประชาสัมพันธ์ภายนอก เป็นต้น เพื่อให้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายนอกเข้า
ระบบและประเมินด้วยตนเอง
ขั้นดาเนินการประเมิน : แบบวัดการรับรู้ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายนอก (EIT)
ขั้นตอน รายละเอียด
3. ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายนอกเข้าระบบ ITAS - เมื่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายนอกเข้าระบบแล้ว จะต้องยืนยันตนเองด้วยการกรอกหมายเลขบัตร
จาก URL และ QR Code และประเมินด้วย ประชาชนของตนเองก่อนทาแบบสารวจ โดยระบบจะตรวจสอบความถูกต้องของเลขบัตรประชาชน
ตนเอง เท่านั้น ไม่เชื่อมโยงกับข้อมูลส่วนตัวของผู้ตอบแบบสารวจใดๆ ทั้งสิ้น แต่มีวัตถุประสงค์ในการ
กรอกเพื่อป้องกันการตอบซ้าของผู้ใช้งานและเพื่อให้ผลการประเมินมีความคลาดเคลื่อนน้อยที่สุด
ขั้นดาเนินการประเมิน : แบบวัดการรับรู้ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายนอก (EIT)
ขั้นตอน รายละเอียด
3. ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายนอกเข้าระบบ ITAS จาก URL และ
QR Code และประเมินด้วยตนเอง (ต่อ)
ขั้นดาเนินการประเมิน : แบบวัดการรับรู้ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายนอก (EIT)

ขั้นตอน รายละเอียด
4. ผู้รับจ้างประเมิน Download ข้อมูลผู้มีส่วน - เมื่อผู้รับจ้างประเมิน Download ข้อมูลผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายนอกของ
ได้ ส่ ว นเสี ย ภายนอกของหน่ ว ยงานจากระบบ หน่วยงานแล้ว จะวิเคราะห์ความสอดคล้องกับขนาดของหน่วยงาน และความ
ITAS และเก็บข้อมูลการประเมินตามแบบ EIT ครบถ้ ว นตามภารกิ จ หลั ก ของหน่ วยงาน ซึ่ง แสดงถึงการเป็น ตั วแทนที่ ดีของ
ให้ ไ ด้ ต ามจ านวนตั ว อย่ า งที่ ส านั ก งาน ป.ป.ช. หน่วยงาน โดยหากยังไม่สอดคล้องหรือไม่ครบถ้วน จะประสานงานกับ Admin
กาหนด ของหน่วยงาน ทางระบบ ITAS (ระบบ Notification ของผู้ใช้งาน) และ e-mail
เพื่อขอข้อมูลเพิ่มเติม
- ผู้รับจ้างประเมินจะคัดเลือกกลุ่มตัวอย่างและเก็บข้อมูล รวมถึงจะลงรหัสและ
บันทึกข้อมูลในระบบ ITAS
- ผู้รับจ้างประเมินจะกากับติดตามการประเมินให้ได้ตามจานวนตัวอย่างขั้นต่า ที่
สานักงาน ป.ป.ช. กาหนด
127
ขั้นดาเนินการประเมิน : แบบวัดการรับรู้ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายนอก (EIT)

ขั้นตอน รายละเอียด
4. ผู้รับจ้างประเมิน Download ข้อมูลผู้มีส่วน - จานวนตัวอย่างขั้นต่าขึ้นอยู่กับข้อมูลผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายนอกของหน่วยงาน
ได้ ส่ ว นเสี ย ภายนอกของหน่ ว ยงานจากระบบ ที่ Admin ของหน่วยงาน กรอกในระบบ ITAS โดยมีหลักเกณฑ์ ดังนี้
ITAS และเก็บข้อมูลการประเมินตามแบบ EIT ร้อยละ 10 ของจานวนผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายนอก ระหว่าง 30 – 100 ตัวอย่าง
ให้ ไ ด้ ต ามจ านวนตั ว อย่ า งที่ ส านั ก งาน ป.ป.ช.
จานวนผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายนอก (คน) ขนาดตัวอย่างขั้นต่า (ตัวอย่าง)
กาหนด (ต่อ)
1-30 ตามจานวนที่กรอก
31-300 30
301 – 1,000 ร้อยละ 10
1,001 ขึ้นไป 100
ขั้นดาเนินการประเมิน : แบบวัดการรับรู้ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายนอก (EIT)

ขั้นตอน รายละเอียด
5. Admin ของหน่วยงาน และผู้บริหารที่
รับ ผิ ด ชอบการประเมิ น ของหน่ ว ยงาน เรี ย กดู
สถานะการประเมินตามแบบ EIT ในระบบ ITAS
ขั้นดาเนินการประเมิน : แบบตรวจการเปิดเผยข้อมูลสาธารณะ (OIT)
ขั้นตอน รายละเอียด
1. Admin ของหน่วยงาน ตอบคาถามตามแบบ - Admin ของหน่วยงาน สามารถเข้าระบบเพื่อตอบแบบสารวจได้ตั้งแต่การ
ตรวจการเปิดเผยข้อมูลสาธารณะ (แบบ OIT) ใน ลงทะเบียนเสร็จสิ้น โดยจะต้องตอบด้วยการกรอก URL ของเว็บไซต์หน่วยงาน
ระบบ ITAS ตนเองในแต่ละข้อ
ขั้นดาเนินการประเมิน : แบบตรวจการเปิดเผยข้อมูลสาธารณะ (OIT)
ขั้นตอน รายละเอียด
2. ผู้ บ ริ ห ารที่ รั บ ผิ ด ชอบการประเมิ น ของ
หน่วยงานเข้าระบบ ITAS เพื่ออนุมัติการตอบ
ของหน่วยงาน
ขั้นดาเนินการประเมิน : แบบตรวจการเปิดเผยข้อมูลสาธารณะ (OIT)
ขั้นตอน รายละเอียด
3. ผู้รับจ้างประเมินตรวจสอบและให้คะแนนใน
ระบบ ITAS
ขั้นรายงานผลการประเมิน
เมื่อการให้คะแนนและประมวลผลคะแนนเสร็จสิ้น
หน่วยงานสามารถรับทราบผลการประเมินได้จาก
ระบบ ITAS ได้ด้วยตนเอง ทั้งภาพรวมของ
ประเทศและรายหน่วยงาน
สานักประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
สานักงานคณะกรรมการป้ องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ
เลขที่ 361 ถ.นนทบุรี ต.ท่ำทรำย อ.เมืองนนทบุรี จ.นนทบุรี 11000
www.nacc.go.th , www.facebook.com/ita.nacc

134

Вам также может понравиться