Вы находитесь на странице: 1из 9

เอกสารประกอบการบรรยาย

คณิตศาสตร์เสริม หลักสูตร EP
◙ โรงเรียนสตรีศึกษา จังหวัดร้อยเอ็ด

8 ประกอบสาระการเรียนรู้ พื้นฐาน
ระดับมัธยมศึกษาปีที่ 3

ระบบสมการเชิงเส้น
System of Linear Equations

อ.วัฒนา เถาว์ทิพย์
◙ ภาควิชาคณิตศาสตร์
มหาวิทยาลัยขอนแก่น
คณิตศาสตร์เสริม หลักสูตร EP โรงเรียนสตรีศึกษา จังหวัดร้อยเอ็ด ระดับมัธยมศึกษาปีท3ี่ หน้า 1

3 ระบบสมการเชิงเส้น (System of Linear Equations)


True or False?
3x  2  8 and
30 x  20  80 ความรู้พื้นฐาน (Basic Background)
have the same
solution. นักเรียนสามารถอธิบายสิ่งเหล่านี้ได้หรือไม่
 สมการเชิงเส้น (Linear Equations)
สมการเชิงเส้นในรูปทั่วไป (General form) คือ ...................................................
โดยมีกราฟเป็น ...................... ที่มีความชัน...................และตัดแกน Y ที่...................

…………………  คาตอบของสมการ(Solutions)
………………… คาตอบของสมการ หมายถึง...................................................... ..................................
…………………
…………………
…………………  การแก้สมการ (Solving)
………………… การแก้สมการ หมายถึง ...............................................................................................
…………………
 สมการที่สมมูล (Equivalent Equations)
สมการที่สมมูลกัน หมายถึง ........................................................................................
............................................................................................................................. ........

 ระบบสมการ (System of Equations)


ระบบสมการ หมายถึง ...............................................................................................
............................................................................................................................. ........

 คาตอบของระบบสมการ (Solutions)
คาตอบระบบสมการ หมายถึง ....................................................................................
............................................................................................................................. ........

 ระบบสมการที่สมมูล (Equivalence of System of Equations)


สมการที่สมมูลกัน หมายถึง ........................................................................................
.......................................................................................... ...........................................
 การดาเนินการพื้นฐาน (Elementary Operation)
การดาเนินการพื้นฐานที่ทาให้ระบบสมการสมมูลกันมี 3 วิธี ดังนี้
(1) ……………………………………………
(2) ……………………………………………
(3) ……………………………………………

เรื่อง ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร [ System of Linear Equations ] โดย ดร.วัฒนา เถาว์ทิพย์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น


คณิตศาสตร์เสริม หลักสูตร EP โรงเรียนสตรีศึกษา จังหวัดร้อยเอ็ด ระดับมัธยมศึกษาปีท3ี่ หน้า 2

3.1 ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร (System of Linear Equations with


Two Variables)

◙ ระบบสมการ ที่ประกอบด้วยสมการเชิงเส้นสองตัวแปร เรียกว่า ระบบสมการเชิง


เส้นสองตัวแปร โดยทั่วไประบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรอาจจะมีมากกว่า 2 สมการก็
ได้ ในเบื้องต้นนี้เราจะเน้นศึกษาเฉพาะระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร ที่มี 2 สมการ
☼ True or False …...
(k  1) 2  k 2  4  k 2 ดังต่อไปนี้
ax  by  c (1)
…………………………… dx  ey  f (2)
……………………………
…………………………… โดย a, b, c, d , e, f เป็นจานวนจริงที่ a, b ไม่เป็นศูนย์พร้อมกัน และ c, d ไม่เป็น
……………………………
……………………………
ศูนย์พร้อมกัน คู่อันดับ ( x, y ) ที่ทาให้ทั้งสองสมการเป็นจริง จะเรียกว่า คาตอบของ
…………………………… สมการ (Solutions) และเมื่อพิจารณาจากกราฟ คาตอบของระบบสมการก็คือจุดตัด
……………………………
……………………… (Intersection) ร่วมกันของกราฟของสมการทั้งหมดนั่นเอง
………………………
……………………… ◙ ลักษณะต่างๆที่เป็นไปได้ของคาตอบของระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร สามารถ
………………………
……………………… สรุปได้จากตัวอย่างต่อไปนี้

Example 1 จงพิจารณาคาตอบของระบบสมการต่อไปนี้จากกราฟ
3x  y  3 (1)
2x  y  2 (2)

Example 2 จงพิจารณาคาตอบของระบบสมการต่อไปนี้จากกราฟ
x  2y 1 (1)
2x  4 y  2 (2)

Example 3 จงพิจารณาคาตอบของระบบสมการต่อไปนี้จากกราฟ
x  2y 1 (1)
2x  4 y  4 (2)

◙ จากตัวอย่างจะเห็นว่า ระบบสมการเชิงเส้นสองแปร อาจ มีคาตอบเดียว มีหลาย


คาตอบ หรือไม่มีคาตอบเลยก็ได้

เรื่อง ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร [ System of Linear Equations ] โดย ดร.วัฒนา เถาว์ทิพย์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น


คณิตศาสตร์เสริม หลักสูตร EP โรงเรียนสตรีศึกษา จังหวัดร้อยเอ็ด ระดับมัธยมศึกษาปีท3ี่ หน้า 3

3.2 การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร และ กราฟ


(Solving The System of Linear Equation and Graph)
การแก้ระบบสมการโดยใช้กราฟโดยทั่วไปจะได้คาตอบโดยประมาณ (Approximate
Solution) การหาคาตอบที่แม่นตรง(Exact Solution) หรือ คาตอบเชิงวิเคราะห์
(Analytic Solution) จะต้องอาศัยการคิดวิเคราะห์โดยอาศัยการดาเนินการพื้นฐาน
(Elementary Operation) ทางคณิตศาสตร์ ดังนี้
◙ Some of the most ◙ การดาเนินการพื้นฐาน (Elementary Operations) มี 3 วิธี
beautiful mathematical
formulas: (1) การสลับแถวของสมการ
(2) การคูณค่าคงที่ในสมการใด สมการหนึ่ง ทั้งสองข้าง
9 The roots of a quadratic
equation : (3) การนาค่าคงที่ไปคูณสมการหนึง่ แล้ว นาไปบวกสมการอี่น
If ax  bx  c  0
2
** การดาเนินการทั้งสามจะไม่ทาให้คาตอบของสมการเปลี่ยนแปลง **
where a  0 , then
b  b2  4ac
x . Example 1 จงแก้ระบบสมการต่อไปนี้
2a
3x  y  3 (1)
10 The golden ratio: 2x  y  2 (2)
1 5
2
11 Imaginary numbers:
i  1

Example 2 จงแก้ระบบสมการต่อไปนี้
3x  2 y  0 (1)
3x  4 y  18 (2)

Example 3 จงแก้ระบบสมการต่อไปนี้
2x  3y  2 (1)
3x  4 y  4 (2)

เรื่อง ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร [ System of Linear Equations ] โดย ดร.วัฒนา เถาว์ทิพย์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น


คณิตศาสตร์เสริม หลักสูตร EP โรงเรียนสตรีศึกษา จังหวัดร้อยเอ็ด ระดับมัธยมศึกษาปีท3ี่ หน้า 4

3.3 กฎของคราเมอร์ (Cramer’s Rule)


a b ระเบียบวิธี ในการแก้ระบบสมการเชิงเส้นที่ใหญ่ขึ้น วิธีหนึ่งที่นิยมใช้คือ กฎของคราเมอร์
If  ad  bc
c d ซึ่งสรุปโดยย่อ สาหรับการแก้ระบบเชิงเส้นสองตัวแปรได้ดังนี้
1 2 พิจารณาระบบสมการ
, then ?
3 4 ax  by  c (1)
dx  ey  f (2)
(1)  e ; aex  bey  ce (3)
(2)  b ; bdx  bey  bf (4)
(3)  (4) ; …………………………………
…………………………………
(1)  d ; adx  bdy  cd (5)
(2)  a ; adx  aey  af (6)
(5)  (6) ; …………………………………
………………… …………………………………
………………… ดังนั้นคาตอบของระบบสมการคือ ( x, y) โดยที่
…………………
………………… x  ..................................
………………… y  .....................................
…………………
…………………
………………… Example 1 จงแก้ระบบสมการต่อไปนี้โดยใช้กฎของครามเมอร์
……………….... 3x  y  3 (1)
2x  y  2 (2)

Example 2 จงแก้ระบบสมการต่อไปนี้โดยใช้กฎของครามเมอร์
3x  2 y  0 (1)
3x  4 y  18 (2)

Example 3 จงแก้ระบบสมการต่อไปนี้โดยใช้กฎของครามเมอร์
2x  3y  2 (1)
3x  4 y  4 (2)

เรื่อง ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร [ System of Linear Equations ] โดย ดร.วัฒนา เถาว์ทิพย์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น


คณิตศาสตร์เสริม หลักสูตร EP โรงเรียนสตรีศึกษา จังหวัดร้อยเอ็ด ระดับมัธยมศึกษาปีท3ี่ หน้า 5

2.4 โจทย์ระบบสมการเชิงเส้น สองตัวแปร (Applications of System of Linear


Find a, b Equations)
such that
โจทย์ปัญหาในชีวิตจริงที่เกี่ยวข้องกับความสัมพันธ์ระหว่างสองตัวแปร อาจเปลี่ยนมาเป็น
ab
 ab รูปแบบเชิงคณิตศาสตร์ ในลักษณะของระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรดังตัวอย่างต่อไปนี้
2

Example1 อัตราค่าเข้าชมการแข่งขันฟุตบอลนัดหนึ่ง ผู้ใหญ่ 200 บาท เด็ก 100 บาท


ถ้ามีผู้เข้าชม 10,000 คน และขายบัตรได้ 1,260,800 บาท อยากทราบว่ามีเด็กกี่คน.

…………………
…………………
…………………
…………………
…………………
…………………
…………………
………………… Example 2 ผสมแป้งสาลีชนิดราคากิโลกรัมละ 4 บาท กับแป้งมันราคากิโลกรัมละ
……………….... 5.50 บาท จงหาว่าจะต้องผสมในอัตราส่วนเท่าไร จึงจะขายได้แป้งผสมในราคากิโลกรัมละ
6 บาท แล้วได้กาไร 20 %

Example 3 ติ๊กสะสมเหรียญชนิด 10 บาท และ เหรียญ 1 บาท รวมกันได้ 200 เหรียญ


คิดเป็นเงินรวมกัน 920 บาท อยากทราบว่า ติ๊กมีเหรียญแต่ละชนิดอย่างละกี่เหรียญ

เรื่อง ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร [ System of Linear Equations ] โดย ดร.วัฒนา เถาว์ทิพย์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น


คณิตศาสตร์เสริม หลักสูตร EP โรงเรียนสตรีศึกษา จังหวัดร้อยเอ็ด ระดับมัธยมศึกษาปีท3ี่ หน้า 6

◙ แบบฝึกทักษะ(Skill Practice)
● จงแก้ระบบสมการต่อไปนี้
(1) 2 x  4 (1)
2x  y  2 (2)

(2) 3x  y  3 (1)
2x  y  2 (2)

(3) 3x  2 y  0 (1)
2 x  2 y  2 (2)

(4) 2 x  3 y  2 (1)
3x  2 y  2 (2)

(5) 3x  y  3 (1)
2x  y  2 (2)

(6) 4 x  2 y  4 (1)
2 x  3 y  2 (2)

(7) 3x  4 y  18 (1)
2x  y  1 (2)

(8) 10 x  6 y  2 (1)
6 x  7 y  33 (2)

(9) x  y  1 (1)
89 x  89 y  98 (2)

(10) x  y  1 (1)
89 x  89 y  89 (2)

(11) x  y  1 (1)
89 x  98 y  98 (2)

(12) xy  6  0 (1)
x 2  y 2  13 (2)

เรื่อง ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร [ System of Linear Equations ] โดย ดร.วัฒนา เถาว์ทิพย์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น


คณิตศาสตร์เสริม หลักสูตร EP โรงเรียนสตรีศึกษา จังหวัดร้อยเอ็ด ระดับมัธยมศึกษาปีท3ี่ หน้า 7

◙ ทักษะกระบวนการแก้ปัญหา (Problem Solving Skill and Process)

ปัญหา: จงหาจานวนสามจานวนที่เป็นไปได้ทั้งหมด ซึ่งเมื่อนาจานวนจานวนหนึ่ง ไป


บวกกับผลคูณของอีกสองจานวน แล้วได้ ผลลัพธ์ เท่ากับ 2.

Find all rational


number x such that
1
x is an integer.
x

…………………
…………………
…………………
…………………
…………………
…………………
…………………
…………………
………………....

เรื่อง ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร [ System of Linear Equations ] โดย ดร.วัฒนา เถาว์ทิพย์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น


คณิตศาสตร์เสริม หลักสูตร EP โรงเรียนสตรีศึกษา จังหวัดร้อยเอ็ด ระดับมัธยมศึกษาปีท3ี่ หน้า 8

◙ ปัญหาท้าทาย (Challenging Problems)

1) ในห้องคอมพิวเตอร์ห้องหนึ่ง ถ้านักเรียนกลุ่มหนึ่งเข้าไปใช้คนละ 1 เครื่อง จะเหลือ


นักเรียน 4 คนที่ไม่มีเครื่อง แต่ถ้าใช้เครื่องละ 2 คน จะเหลือเครื่องว่าง 3 เครื่อง จงหา
5556  4445
2 2
ว่าในห้องนี้มีเครี่องคอมพิวเตอร์กี่เครื่อง และนักเรียนกลุ่มนี้มีกิ่คน
 111111111

Right?

2) ให้ ABCD เป็นรูปสี่เหลี่ยมคางหมู ที่มี AB // DC เส้นทแยงมุม AC ตัดกับ


BD ที่จุด O ถ้าพื้นที่  ABO และ  CDO เท่ากับ 9 และ 16 ตารางนิ้ว

ตามลาดับ จงหาพื้นที่ของ □ ABCD


…………………
…………………
…………………
…………………
…………………
…………………
…………………
…………………
………………....

3) กัปตันเรือ ไททานุ ตรวจพบรูรั่วในขณะที่ลอยลาอยู่กลางทะเล และพบว่ามีนาไหล


เข้าเรือด้วยอัตรคงที่ สมมุติว่าลูกเรือ 12 คนสามารถวิดน้าให้แห้งได้ ภายใน 3 ชั่วโมง
ในขณะที่ ลูกเรือ 5 คนต้องใช้เวลา ถึง 10 ชั่วโมง อยากทราบว่าถ้าต้อง วิดน้าให้แห้ง
ภายใน 2 ชั่วโมง จะต้องระดมลูกเรือกี่คน

_____________________
เรื่อง ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร [ System of Linear Equations ] โดย ดร.วัฒนา เถาว์ทิพย์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

Вам также может понравиться