Вы находитесь на странице: 1из 38

การนวดราช

สานัก

จิระเดช บุญร ัตน


หิร ัญ

ไกรสีห ์ ลิม
ประเสริฐ
ศ.นพ.อวย เกตุสงิ ห ์
รศ.นพ.กรุงไกร เจนพาณิ ชย ์
ิ าสตร ์ อ.ณรงค ์สักข ์ และ อ.กรุงไกร ชีจุ้ ดตาแหน่ งนวดบ
ภาพประวัตศ
 1.1) ความรู ้ทางกายวิภาคศาสตร ์ คือ ต ้องรู ้ถึงเรืองรู ่ ปร่าง
ลักษณะของกล ้ามเนื อ้ กระดูก ข ้อต่อ เส ้นเลือดดา เส ้นเลือด
แดง เส ้นประสาท เส ้นเอ็น ซึงสั ่ มพันธ ์กับการนวดโดยตรง

นอกจากนี ควรรู ่ าคัญต่าง ๆ ทังในทรวงอก
้ถึงอวัยวะทีส ้ และช่อง

ท ้อง รวมทังในอุ ้งเชิงกรานและสมอง อาทิ เช่น หัวใจ ปอด ตับ
กระเพาะอาหาร ลาไส ้เล็ก ลาไส ้ใหญ่ เป็ นต ้น
 1.2) ความรู ้ทางสรีรวิทยา คือ ต ้องรู ้ถึงหน้าทีของอวั่ ยวะต่าง
ๆ ของร่างกายดังกล่าวแล ้ว ปรกติน้ันอวัยวะต่าง ๆ ทาหน้าที่
อะไรบ ้าง และในขอบเขตเพียงใด
 1.3 ความรู ้ทางพยาธิวท ิ ยา คือ ต ้องรู ้ถึงสาเหตุของการเกิด
โรคทีท ่ าให ้ลักษณะรูปร่าง ตลอดจนหน้าทีของอวั ่ ยวะนั้น ๆ

เปลียนแปลงไป เช่น การหดเกร็งของกล ้ามเนื อ้ ข ้อแพลง เอ็น
 มีหลักอยู่วา่ “ ต ้องพิเคราะห ์โรคให ้ได ้ก่อนทาการร ักษาทุกครง้ั

 2.1) การซักประวัติ ได ้แก่
 ก. อาการสาคัญทีน ่ าคนไข ้มาหาหมอ เช่น ยกแขนไม่ได ้
เพราะไหล่ตด ิ เป็ นต ้น
 ข. ประวัตก ิ ารป่ วยปัจจุบน ่ ยวข
ั ซึงเกี ่ ้องกับอาการสาคัญ
ต ้องทราบถึงลักษณะของการเริมเจ็ ่ บป่ วย (เป็ นทันที หรือค่อย
เป็ นค่อยไป) ความรุนแรง(มาก ,น้อย) ทาท่าไหนไม่ได ้บ ้าง หรือ
ทาแล ้วเกิดติดขัด เกิดความเจ็บปวด เคยมีการอักเสบบริเวณ
นั้น ๆ หรือไม่ ฯลฯ
 ค. บางครงต ้ั ้องซักถามถึงประวัตส ิ ว่ นตัว ประวัตค
ิ รอบคร ัว
ร่วมด ้วย เพราะจะทาให ้ทราบถึงโรคประจาตัวของคนไข ้ ซึงอาจ ่
 กระทาโดยการดู การคลา จับส่วนทีพิ ่ การเคลือนไหวดู


หรือให ้คนไข ้เคลือนไหวเองว่
าทาได ้หรือไม่ ทาได ้มาก
น้อยเพียงใด มีการเจ็บปวดร่วมด ้วยหรือไม่ การเจ็บปวดมี
ลักษณะอย่างไร (เสียดแทง ,ตือ้ ๆ ,ปวดร ้าว , ปวดตุบ ๆ
ฯลฯ)
 ตรวจดูลก ั ษณะของส่วนต่างๆของร่างกาย
เย็น ร ้อน อ่อน แข็ง ตึง บวม ลีบ ความพิการ
รอยโรค
ตรวจลักษณะของกระดูกสันหลัง
คด โก่ง แอ่น
ตรวจลักษณะกระดูก แขน ขา
ความพิการ รอยโรค การโก่ง ผิดรูป
 การตรวจสภาวะของร่างกายก่อนทาการนวด
่ องกันความผิดพลาดทีอาจเกิ
เพือป้ ่ ดขึน้ หมอนวด
ควรตรวจสภาพร่างกายของคนไข ้ โดยดูลก ั ษณะ

ทัวไปก่ ่ บป่ วย จากนั้นจึงดูการ
อน แล ้วดูสว่ นทีเจ็
ทางานของปอด (การหายใจเร็ว – ช ้า,ลึก-ตืน)และ ้
การไหลเวียนเลือด (การทางานของหัวใจ และความ
ดันเลือดทราบได ้จากการจับชีพจร) เพือน ่ าข ้อมูลที่

ได ้ไปกาหนดท่าทีจะนวดคนไข ้ คือ ควรให ้คนไข ้นั่ง
หรือนอนนวด นวดมากน้อยเพียงใด ใช ้แรงขนาด
ไหน ทานานหรือ ไม่เป็ นต ้น
่ งเกตว่า ไม่วา่ จะอยู่ในท่าใดขณะนวดทังหมอ
 เป็ นทีสั ้

และคนไข ้ จะต ้องอยู่ในท่าทีสบายผ่ อนคลายไม่เกร็ง
้ วแม่มอ
 อาจใช ้เพียงนิ วหั ื ้ ้
นิ วชี

นิ วกลาง ้
และนิ วนางในบางกรณี
หรือใช ้ฝ่ ามือ(โดยเฉพาะอย่างยิง่
้ อซ ้อนกัน
ส ้นมือ) บางคราวใช ้นิ วมื
ทังนี้ ต
้ ้องพิจารณาให ้เหมาะสมเป็ น
ราย ๆ ไป
่ ้ามเนื อ้
 อาจเป็ นตาแหน่ งทีกล ช่วงระหว่าง

กล ้ามเนื อตามแนวหลอดเลื อดแดง หรือ
่ ้กล ้ามเนื อที
เส ้นประสาท ความมุ่งหมายก็เพือให ้ ่
่ าให ้ไม่สบาย) เกิด
แข็งตึง หรือหดเกร็ง (ซึงท
การคลายตัว หรือหย่อนตัว (อาการเจ็บป่ วยจะ
่ มการไหลเวี
หายไป) และเพือเพิ ่ ยนเลือดและ

นาเหลื ่
องจะทาให ้อวัยวะต่าง ๆ ทีเคยทาหน้าที่
้ นปกติ
หย่อน กลับทางานได ้มากขึนเป็
 ท่านวด โดยปกติอาจให ้คนไข ้นั่งกับพืน้ หรือ
นอนบนฟูกทีพื ่ น้ แล ้วหมอนวดนั่งคุกเข่า หรือ
ยืนนวด แต่บางคราวเกิดความจาเป็ นอาจให ้
คนไข ้นั่งบนเก ้าอีก็้ ได ้ แต่ผลการนวดมักจะไม่ดี

เท่าทีควร เพราะผิดท่าทาง เกิดการเกร็งของ
มือหมอ หมอนวดอาจปวดเมือยเสี ่ ยเองก็ได ้
บางคราวคนไข ้ก็อาจระบมด ้วย
 ท่านอนของคนไข ้โดยปกติใช ้ท่านอน
ตะแคง โดยให ้ขาล่างทีติ ่ ดกับพืนเหยี
้ ยดตรง
ส่วนขาบน งอเข่า เอาส ้นเท ้าชิดกับหัวเข่าของ
่ ่
 ควรนวดเบา ๆ ในตอนแรก (ใช ้แรงน้อยก่อน)
่ นเป็
แล ้วค่อย ๆ เพิมขึ ้ นลาดับ ทังนี
้ ขึ้ นอยู
้ ก
่ บั
ลักษณะรูปร่างของคนไข ้ ความรุนแรงของโรค
มากน้อยเพียงใด เป็ นแบบปัจจุบน ั (เกิดขึน้
้ ัง การกดเบาเกินไปจะไม่
ทันที)หรือแบบเรืองร
ได ้ผล ส่วนการกดแรงเกินไปจะทาให ้เสียผลใน
การร ักษาและอาจเกิดการระบมได ้
 เวลาทีใช ่ ้นวดแต่ละจุดเป็ นคาบ คือ กาหนดเวลา ลม
หายใจ เข ้า-ออก 1 รอบ เป็ น 1 คาบ ถ ้าหายใจสันก็ ้
เป็ นคาบสัน ้ ถ ้าหายใจยาวนับเป็ นคาบยาว การกด
นานเพียงใดย่อมขึนกั ้ บลักษณะของโรค และคนไข ้
ด ้วย
 ควรกดนานพอควร ถ ้ากดเวลาสันจะไม่ ้ ได ้ผลในการ
ร ักษา การกดนานเกินไป นอกจากจะทาให ้มือของ
หมอนวดล ้าง่ายแล ้วคนไข ้อาจระบมได ้เช่นกัน อย่างไร

ก็ด ี มีหลักว่าจะต ้องค่อย ๆ กดโดยเพิมแรงที ละน้อย
แล ้วคงอยู่ในลักษณะนั้นนานตามต ้องการ จากนั้นจึง
ค่อย ๆ ปล่อย ไม่ใช่รบี ปล่อยหรือยกมือโดยเร็วเพราะ
 หมอนวดจะต ้องทราบว่าโรคใดควรนวดจุดใดเป็ นจุด
แรกและจุดต่อ ๆ ไปควรนวดจุดใด ในการนี จะต ้ ้องมี
่ ้ผลดี
การศึกษาค ้นคว ้าให ้ถ่องแท ้ว่า การนวดทีให
่ ดควรเป็ นตาแหน่ ง 1 2 3 4 5 หรือ 5 4 3 2
ทีสุ
1 ฯลฯ ด ้วยการกระทาเช่นนี จะท ้ าให ้มีการ
พัฒนาการนวดให ้ก ้าวหน้ายิง่ ๆ ขึนไป

้ กกีรอบ
 หมอนวดจะต ้องทราบว่าควรนวดซาอี ่
่ จะต
เช่น 2 -3-4 หรือ 5 รอบ เรืองนี ้ ้องอาศัย
ความชานาญและการตรวจสอบตลอดเวลา
หมอนวดทีช่ านาญจะนวดร ักษาไปพลางตรวจ
ไปพลาง
 หมอนวดจะต ้องแนะนาให ้คนไข ้ทราบ เพราะ
บางโรคต ้องนวดทุกวันในระยะแรก จากนันจึ ้ ง
เว ้นไปนวดทุก ๆ 2-3 วัน เป็ นต ้น การนวดซา้
ทุกวันเป็ นระยะเวลานาน อาจเป็ นผลร ้ายได ้
เช่น เกิดการระบม การอักเสบของกล ้ามเนือ้
เส ้นเอ็น และข ้อ เป็ นต ้น การเว ้นระยะการนวด
นานเกินไป ผลดีทคนไข ี่ ้ควรจะได ้ร ับก็จะไม่
ติดต่อกัน ทาให ้เสียผลในการร ักษาได ้
 หลังจากพิเคราะห ์โรคได ้อย่างถ่องแท ้แล ้วว่า
คนไข ้เป็ นโรคอะไรมีอาการอย่างไรรุนแรงแค่
ไหน หมอนวดทีช ่ านาญจะบอกได ้คร่าว ๆ ว่า
ควรนวดกีคร ่ ง้ั และใช ้เวลานานเท่าใดจึงจะหาย
หรือทุเลามากน้อยเพียงใด เพือจะได ่ ้บอกให ้
คนไข ้ทราบได ้โดยประมาณ การจะกาหนดให ้
แน่ นอนตายตัวว่าจะต ้องหาย 100 เปอร ์เซ็นต ์
ในสามครง้ั ห ้าครง้ั นับเป็ นการผิดพลาดอย่าง
มาก เพราะการหายป่ วยหรือไม่หายมีปัจจัย
่ ้
 หมอนวดควรแนะนาคนไข ้ โดยอาศัยหลักดังนีคื ้ อ สิง่
ควรกระทา และสิงพึ่ งละเว ้นได ้แก่
 ก. ควรพักผ่อนมากน้อยเพียงใด ควรออกกาลัง
กายตอนไหน มากน้อยเท่าใด ควรทาท่าไหนบ ้าง
 ข. ของแสลงทีพึ ่ งงดเว ้น ได ้แก่ ยาแก ้ไข ้ แก ้ปวด
ของหมักดอง เหล ้า เบียร ์ หน่ อไม ้ ข ้าวเหนี ยว การสูบ
บุหรี่
 ค. ควรทาจิตใจให ้สบาย ไม่มอ ี ารมณ์เครียด
่ ตก เพราะจิตทีเคร่
กังวล หวันวิ ่ งเครียดจะทาให ้
ร่างกายเจ็บป่ วยได ้ง่าย และหายยาก
 การติดตามผล ต ้องมีการติดตามผลของการนวด
แต่ละครงว่ ้ั าได ้ผลดีหรือไม่ มากน้อยเพียงไร เพือ่
นามาพิจารณาว่าทีท ่ าไม่ได ้ผลหรือ ได ้ผลน้อยเพราะ
เหตุใด เช่น การพิเคราะห ์โรคผิด การนวดไม่ดพ ี อใน
ข ้อใดบ ้าง ต ้องทบทวนใหม่เพือจะได ่ ้ไม่ผด ิ ซา้ และเกิด
ความรู ้ความชานาญมากขึนเรื ้ อย ่ ๆ ถ ้าเกิดผลเสีย
ผลเสียมีอย่างไรบ ้าง รุนแรงมากน้อยเพียงใด สาเหตุ
เกิดจากอะไร ต ้องหาทางพัฒนาการนวดของตนใหด้ ี
ยิง่ ๆ ขึนไปโดยไม่
้ หยุดยัง้ ถ ้าความผิดพลาดหรือ
บกพร่องอยู่ทคนไข ี่ ้ หมอนวดก็จะต ้องชีแจงให ้ ้เขาได ้

ทราบเพือจะได ้ปฏิบต ั ใิ ห ้ถูกต ้องในกาลต่อไป
 ่
ก. รู ้เขา คือ รู ้เรืองราวของคนไข ้เป็ นอย่างดีวา่ เป็ นโรคอะไร
มีข ้อห ้ามนวดหรือไม่ เช่น ต ้องไม่เป็ นไข ้ (ไม่มก ี ารติดเชือใน้
ร่างกาย) ไม่เป็ นโรคผิวหนังชนิ ดติดต่อ ไม่เป็ นหวัด ฯลฯ
 ้
ข. รู ้เรา คือ รู ้ว่าตนเองมีความรู ้ทังทางทฤษฎี หรือทาง
ปฏิบต ิ ากน้อยเพียงใด สามารถนวดคนไข ้คนนั้นหายได ้
ั ม
หรือไม่ ถ ้าเหลือความสามารถควรส่งต่อหมอทีช ่ านาญว่าจึง
จะเป็ นการถูกต ้อง
 ค. รู ้รอบ คือ รู ้ว่าจุดใดเป็ นจุดอันตราย ควรกดหรือไม่ ควร

ทาด ้วยความระมัดระวังเพียงใด มีความรู ้เรืองอาหารการกิ น
ของแสลง การออกกาลังกาย การร ักษาสุขภาพโดยทัวไป ่ จะ
ได ้แนะนาคนไข ้ได ้ถูกต ้อง รู ้ว่าโรคใดนวดไปก็ไม่หาย เช่น ไต
หย่อน กระเพาะอาหารยาน รู ้ว่าการนวดบางโรคอาจเป็ น
อันตรายแก่คนไข ้ได ้ เช่น การนวดคนไข ้ป่ วยเป็ นโรคไส ้ติง่
 5.1) ต ้องร ักษาสุขภาพของตนให ้ดีทงทางกาย ้ั และทางใจ
เพราะถ ้าร ักษาตนให ้มีสขุ ภาพดีไม่ได ้แล ้วจะไปร ักษาใครได ้
เช่น แต่งกายสะอาด ไม่มก ่ ว กลินปาก
ี ลินตั ่
 5.2) ต ้องตัดเล็บให ้สัน ้ และทาความสะอาดด ้วย
 5.3) ถ ้าตนเองไม่สบายไม่ควรนวดคนไข ้ เพราะจะไม่
ได ้ผลในการร ักษา อาจทาให ้คนไข ้ติดโรคจากหมอ หมอเอง
ก็อาจหมอแรงและโรคทีเป็ ่ นอยูอ ่ าจกาเริบได ้ นับเป็ นการให ้
ร ้ายตนเองและให ้ร ้ายคนไข ้ด ้วย
 5.4) ต ้องมีคณ ุ ธรรม และจริยธรรม พึงปฏิบต ิ น้าที่
ั ห
ของตนให ้เต็มตามความสามารถเพือให ่ ้คนไข ้หายดีทสุี่ ด หาย
่ ด เสียเงินน้อยทีสด
เร็วทีสุ ุ
 ซก
ั ประวัตท ่ั
ิ วไป

 การตรวจลักษณะทัวไปทางกายภาพ
 การตรวจวัดองศาของข ้อต่อต่างๆ
 การร ักษาตามหลักชองการนวดแบบราช
สานัก
 การประเมินผลหลังการร ักษา และวางแผน
การร ักษา
 ตรวจดูลก
ั ษณะของส่วนต่างๆของร่างกาย
เย็น ร ้อน อ่อน แข็ง ตึง บวม ลีบ ความ
พิการ รอยโรค
ตรวจลักษณะของกระดูกสันหลัง
คด โก่ง แอ่น
ตรวจลักษณะกระดูก แขน ขา
ความพิการ รอยโรค การโก่ง ผิดรูป
 การตรวจองศาคอ
 การตรวจองศาหัวไหล่
 การตรวจองศาข้อศอก
 การตรวจองศาข้อสะโพก
 การตรวจองศาข้อเข่า
 การตรวจองศาข้อเท้า

หลักการนวดแนวเส้นพืนฐาน 9 แนว
เส้น

 แนวเส้นพืนฐานขาและการเปิ ดประตู
ลม

 แนวเส้นพืนฐานขาด้ านนอก

 แนวเส้นพืนฐานขาด้ านใน

 แนวเส้นพืนฐานหลั ง

 แนวเส้นพืนฐานแขนด้
านใน

 แนวเส้นพืนฐานแขนด้
านนอก

 แนวเส้นพืนฐานบ่ า

 แนวเส้นพืนฐานโค้
งคอ

 แนวเส้นพืนฐานท้
อง
สัญญาณ คือ จุดหรือตาแหน่ งสาคัญทีอยู ่ ่บนแนวเส ้น

พืนฐาน ่
ซึงสามารถจ่ายเลือด บังคับเลือดจ่ายความ
ร ้อน บังคับความร ้อนไปยังตาแหน่ ง
ต่าง ๆ ของร่างกายในการร ักษาโรคตามพิกด ั ทาง
หัตถเวช
ุ สัญญาณหลักๆดังต่อไปนี ้
มีจด
จุดสัญญาณแขนด้านใน 5 จุด
สัญญาณหลัก
จุดสัญญาณแขนด้านนอก 5 จุด
สัญญาณหลัก
จุดสัญญาณขาด้านใน 5 จุด
 จุดสัญญาณหัวไหล่ 5 จุด
สัญญาณหลัก
 จุดสัญญาณหลัง 5 จุดสัญญาณ
หลัก
 จุดสัญญาณท้อง 5 จุดสัญญาณ
หลัก
 จุดสัญญาณเข่า 3 จุดสัญญาณ
หลัก
 จุดสัญญาณศีรษะด้านหน้า 5 จุด

Вам также может понравиться