Вы находитесь на странице: 1из 63

ระบบปฏิบ ัติการ

(Operating Systems)
น.ท.ไพศาล โมลิสกุล
มงคล
ระบบปฏิบต
ั ก
ิ าร (Operating Systems) 1
บทที่ 8
การจัดการสื่อจัดเก็บข้ อมูล
(Storage Management)

ระบบปฏิบต
ั ก
ิ าร (Operating Systems) 2
ดิดิสสก์ก์ (Disk)
(Disk)
 ดิสก์ในปั จจุบนั มีหลายประเภท ที่ใช้ งานกันอยูท่ วั่ ไปคือ ดิสก์แม่เหล็ก
(Magnetic disk) เช่น ฮาร์ ดดิสก์ ฟล็อปปี ด้ ิสก์ Handy drive
 การจัดเนื ้อที่บนดิสก์แม่เหล็กจะมีการจัดแบ่งออกเป็ นไซลินเดอร์
(Cylinder)
 ในแต่ละไซลินเดอร์ จะแบ่งออกเป็ นแทร็ก (Track)
 ในแต่ละแทร็ กจะแบ่งออกเป็ นเซ็กเตอร์ (sector)
 ถ้ าเป็ นแผ่นฟล็อปปี ด้ ิสก็จะมีเซ็กเตอร์ ประมาณ 8 ถึง 32 เซ็กเตอร์
 ฮาร์ ดดิสก์มีจำนวนเซ็กเตอร์ หลายร้ อยเซ็กเตอร์
 หน่วยเล็กที่สดุ ทางด้ านตรรกะในการอ้ างอิงถึงเนื ้อที่บนดิสก์คือ บล็อก
(Logical block)
ระบบปฏิบต
ั ก
ิ าร (Operating Systems) 3
ดิดิสสก์ก์ (Disk)
(Disk)
 ขนาดของ บล็อกจะมีขนาด 512 ไบต์ หรื ออาจจะกำหนดให้ 1 บล็อกให้ มี
ขนาด 1024 ไบต์ก็ได้
 บล็อกจะอยูเ่ รี ยงกันตามลำดับในแต่ละเซ็กเตอร์ โดยเซ็กเตอร์ 0 จะเป็ น
เซ็กเตอร์ แรกของแทร็ กแรกที่อยูไ่ ซลินเดอร์ ด้านนอกสุดของดิสก์
 จำนวนเซ็กเตอร์ ตอ่ แทร็กนันไม่
้ คงที่
 แทร็กที่อยูห่ า่ งจากจุดศูนย์กลางของดิสก์จะมีพื ้นที่ของแทร็ กมากทำให้ มี
จำนวนเซ็กเตอร์ มากกว่าแทร็กที่อยูใ่ กล้ จดุ ศูนย์กลางของดิสก์
 ดิสก์สมัยใหม่จะมีการจัดแบ่งพื ้นที่ออกเป็ น 2 ส่วนคือ
 ส่วนนอกจะมีจำนวนเซ็กเตอร์ มาก
 ส่วนในจะมีจำนวนเซ็กเตอร์ น้อยกว่า
ระบบปฏิบต
ั ก
ิ าร (Operating Systems) 4
ลักษณะทางกายภาพของดิสก์ ทมี่ กี ารแบ่ งเป็ น 2 ส่ วน ส่ วนนอกมีจำนวน 32 เซ็กเตอร์
ต่ อแทร็ก ส่ วนในมีจำนวน 16 เซ็กเตอร์ แต่ แทร็ก

ระบบปฏิบต
ั ก
ิ าร (Operating Systems) 5
โครงสร ้างภายในฮาร์ดดิสก์ และแผ่นฟล็อปปี้ ดส
ิ ก์

ระบบปฏิบต
ั ก
ิ าร (Operating Systems) 6
ตารางเปรียบเทียบคุณสมบัตขิ องฟล็อปปี้ ดิสก์ และฮาร์ ดสิ ก์

ระบบปฏิบต
ั ก
ิ าร (Operating Systems) 7
การจั
การจัดดเวลาการใช้
เวลาการใช้ดดสิ สิ ก์ก์ (Disk
(Disk Scheduling)
Scheduling)
 หน้ าที่ของระบบปฏิบตั ิการคือการเรี ยกใช้ งานฮาร์ ดแวร์ อย่างมี
ประสิทธิภาพ โดยพิจารณาจากระยะเวลา ขึ ้นอยูก่ บั ปั จจัย 3 อย่างคือ
 ระยะเวลาการค้ นหา (seek time) หมายถึงระยะเวลาที่ใช้ ในการ

เคลื่อนที่หวั อ่านไปยังไซลินเดอร์ ที่มีเซ็กเตอร์ ที่ต้องการ


 ระยะเวลาที่ใช้ หมุนดิสก์ (rotational latency) หมายถึงที่ระยะ

เวลาที่รอคอยการหมุนดิสก์เพื่อหาเซ็กเตอร์ ที่ต้องการให้ ตรงกับหัว


อ่าน
 ระยะเวลาการโอนย้ ายข้ อมูล (transfer time) หมายถึงระยะ

เวลาที่ใช้ ในการถ่ายโอนข้ อมูลจากที่หนึง่ ไปอีกที่หนึง่

ระบบปฏิบต
ั ก
ิ าร (Operating Systems) 8
การจั
การจัดดเวลาแบบมาก่
เวลาแบบมาก่ออนได้
นได้กก่ อ่ อนน(FCFS
(FCFSScheduling)
Scheduling)
 รู ปแบบมาก่ อนได้ ก่อน หรือ FCFS (First Come First Served) เป็ น
รูปแบบการทำงานที่งา่ ยที่สดุ ของการจัดเวลาการใช้ ดิสก์
 วิธีนี ้ไม่ใช่วิธีของการทำงานที่เร็วที่สดุ ซึง่ จะไม่คอ่ ยปรับปรุงความเร็ วของ
ระยะเวลาการค้ นหา โดยพิจารณาจากตัวอย่างซึง่ เป็ น ลำดับที่ของไซลิ
นเดอร์ ที่ต้องการเรี ยกใช้ งาน คือ
97, 180, 36, 124, 12, 128, 62, 66

ระบบปฏิบต
ั ก
ิ าร (Operating Systems) 9
ลำดับไซลินเดอร์ = 97, 180, 36, 124, 12, 128, 62, 66
FCFS หัวอ่านอยูไ่ ซลินเดอร์ 50
การเคลือ
่ นทีข ่ องหัวอ่าน 50- 97-180-36-124-12-128-62-66

จำนวนไซลินเดอร์ทเี่ ดินทาง = 660 ไซลินเดอร์


ค่าเฉลีย
่ การเดินทาง = 660/8 = 82.5

ระบบปฏิบต
ั ก
ิ าร (Operating Systems) 10
การจั
การจัดดเวลาแบบเวลาสั
เวลาแบบเวลาสั้ น้ นสุสุดดได้
ได้กก่ อ่ อนน(SSTF
(SSTFScheduling)
Scheduling)
 การทำงานของการที่หวั อ่านจะเคลื่อนที่ไปยังไซลินเดอร์ ที่ใกล้ ที่สดุ ก่อน
แล้ วถึงเคลื่อนที่ยงั ไซลินเดอร์ ที่ไกลออกไป ซึง่ เรี ยกว่า เวลาสันสุ
้ ดได้ ก่อน
หรื อ SSTF (Shortest Seek Time First)
 ตัวอย่างการเรี ยกใช้ ไซลินเดอร์ ที่ใกล้ ที่สดุ กับตำแหน่งของหัวอ่านปั จจุบนั
(50) คือไซลินเดอร์ ที่ 62
 หัวอ่านเคลื่อนที่ไปยังไซลินเดอร์ ที่ 62 แล้ ว ต่อไปไซลินเดอร์ ที่ใกล้ ไซลินเด
อร์ ที่ 62 คือ ไซลินเดอร์ 66
 ไซลินเดอร์ ตอ่ ไปที่หวั อ่านจะเคลื่อนที่ไปก็คือไซลินเดอร์ ที่ 36 และต่อไปที่
ไซลินเดอร์ 12 97 124 128 และสุดท้ ายที่ไซลินเดอร์ 180 ดังภาพ

ระบบปฏิบต
ั ก
ิ าร (Operating Systems) 11
ลำดับไซลินเดอร์ = 97, 180, 36, 124, 12, 128, 62, 66
SSTF หัวอ่านอยูไ่ ซลินเดอร์ 50
การเคลือ
่ นทีข ่ องหัวอ่าน 50-62-66-36-12- 97-124-128-180

จำนวนไซลินเดอร์ทเี่ ดินทาง = 238 ไซลินเดอร์


ค่าเฉลีย
่ การเดินทาง = 238/8 = 29.75
ระบบปฏิบต
ั ก
ิ าร (Operating Systems) 12
การจั
การจัดดเวลาแบบเวลาสั
เวลาแบบเวลาสั้ น้ นสุสุดดได้
ได้กก่ อ่ อนน(SSTF
(SSTFScheduling)
Scheduling)
 ปั ญหาที่เกิดขึ ้นจากวิธีนี ้คือ การคอยใช้ บริการที่อาจจะไม่ได้ รับบริ การ
เช่น ถ้ ามีการขอใช้ ไซลินเดอร์ 12 และ 180 และกำลังบริ การไซลินเดอร์
12 อยู่ แทนที่จะไปบริการ 180 แต่มีการขอใช้ ไซลินเดอร์ ที่อยูใ่ กล้ 12
มากกว่า ก็จะบริ การไซลินเดอร์ นนก่ ั ้ อน ทำให้ ไซลินเดอร์ 180 ไม่ได้ รับ
บริการ และต้ องรอต่อไป
 ถึงแม้ วา่ วิธีนี ้เป็ นวิธีที่เพิ่มประสิทธิภาพการทำงานจากวิธีการจัดเวลา
แบบมาก่อนได้ ก่อน แต่เป็ นวิธีที่ยงั ไม่ดีที่สดุ
 สามารถปรับปรุง โดยการเคลื่อนที่หวั อ่าน 50-36-12 แทนที่จะเป็ น
50-62-66 ถึงแม้ ในช่วงแรกจะไกลกว่าเล็กน้ อย แต่ภาพรวมการ
เคลื่อนที่ของหัวอ่านอยูท่ ี่ 206
ระบบปฏิบต
ั ก
ิ าร (Operating Systems) 13
การจั
การจัดดเวลาแบบ
เวลาแบบ SCAN
SCAN(SCAN
(SCANScheduling)
Scheduling)
 หัวอ่านจะเริ่ มอ่านที่ด้านใดด้ านหนึง่ ของดิสก์และจะเคลื่อนที่ไปยังอีก
ด้ านหนึง่ และจะให้ บริการก็ตอ่ เมื่อหัวอ่านเคลื่อนที่ไปถึงที่ไซลินเดอร์ นนั ้

 ก่อนที่หวั อ่านจะเคลื่อนที่ไปยังไซลินเดอร์ 97, 180, 36, 124, 12, 128,


62, 66 จำเป็ นต้ องทราบทิศทางการเคลื่อนที่ของหัวอ่าน
 หัวอ่านอยูท่ ี่ไซลินเดอร์ 50 ถ้ าหัวอ่านเคลื่อนที่ตอ่ ไปยังไซลินเดอร์ 0
 หัวอ่านจะเคลื่อนที่ไปยังไซลินเดอร์ 36 และ 12 ก่อน
 ที่ไซลินเดอร์ 0 หัวอ่านจะเคลื่อนที่กลับและเคลื่อนที่ตอ่ ไปอีกด้ านหนึง่
ของดิสก์
 หัวอ่านก็จะไปยังไซลินเดอร์ 62 66 97 124 128 และ 180 ดังภาพ
ระบบปฏิบต
ั ก
ิ าร (Operating Systems) 14
ลำดับไซลินเดอร์ = 97, 180, 36, 124, 12, 128, 62, 66
SCAN หัวอ่านอยูไ่ ซลินเดอร์ 50
การเคลือ
่ นทีข ่ องหัวอ่าน 50-36-12-0-62-66-97-124-128-180

จำนวนไซลินเดอร์ทเี่ ดินทาง = 230 ไซลินเดอร์


ค่าเฉลีย
่ การเดินทาง = 230/9 = 25.56
ระบบปฏิบต
ั ก
ิ าร (Operating Systems) 15
การจั
การจัดดเวลาแบบ
เวลาแบบC-SCAN
C-SCAN(Circular-SCAN
(Circular-SCANScheduling)
Scheduling)
 การจัดเวลาแบบ C-SCAN เป็ นอีกรูปแบบหนึง่ ของการจัดเวลาแบบ
SCAN
 จะเหมือนกันในเรื่ องของการเคลื่อนที่หวั อ่านจากด้ านหนึง่ ของดิสก์ไปยัง
อีกด้ านหนึง่ ของดิสก์
 เมื่อหัวอ่านเคลื่อนที่ถงึ อีกด้ านหนึง่ ของดิสก์เมื่อไหร่ หัวอ่านจะเคลื่อน
ย้ ายกลับไปอีกด้ านของดิสก์ทนั ที
 ไม่มีการให้ บริ การในระหว่างเคลื่อนย้ ายกลับ

ระบบปฏิบต
ั ก
ิ าร (Operating Systems) 16
ลำดับไซลินเดอร์ = 97, 180, 36, 124, 12, 128, 62, 66
C-SCAN หัวอ่านอยูไ่ ซลินเดอร์ 50
การเคลือ ่ นทีข่ องหัวอ่าน
50-62-66-97-124-128-180-199-0-12-36

จำนวนไซลินเดอร์ทเี่ ดินทาง = 384 ไซลินเดอร์


ค่าเฉลีย
่ การเดินทาง = 384/9 = 42.67
ระบบปฏิบต
ั ก
ิ าร (Operating Systems) 17
การจั
การจัดดเวลาแบบ
เวลาแบบ LOOK
LOOK(LOOK
(LOOKScheduling)
Scheduling)
 โดยปกติแล้ วหัวอ่านจะเคลื่อนที่ไปในด้ านใดด้ านหนึง่ ไกลเท่าที่มีการขอ
ใช้ บริการจากไซลินเดอร์ หัวอ่านจะเคลื่อนที่กลับไปอีกด้ านหนึง่ ในทันที
ทันใด หัวอ่านจะไม่เคลื่อนที่ไปจนสุดด้ านใดด้ านหนึง่ ซึง่ วิธีนี ้เรี ยกว่า
LOOK หรื อ C-LOOK scheduling เพราะว่าหัวอ่านจะมองไซลินเดอร์
ที่มีการขอใช้ ก่อนที่จะเคลื่อนที่หวั อ่านไป

ระบบปฏิบต
ั ก
ิ าร (Operating Systems) 18
ลำดับไซลินเดอร์ = 97, 180, 36, 124, 12, 128, 62, 66
LOOK หัวอ่านอยูไ่ ซลินเดอร์ 50
การเคลือ
่ นทีข ่ องหัวอ่าน 50-62-66-97-124-128-180-12-36

จำนวนไซลินเดอร์ทเี่ ดินทาง = 322 ไซลินเดอร์


ค่าเฉลีย
่ การเดินทาง = 322/8 = 40.25
ระบบปฏิบต
ั ก
ิ าร (Operating Systems) 19
การเลื
การเลืออกใช้
กใช้รรู ปู ปแบบของการจั
แบบของการจัดดเวลาการใช้
เวลาการใช้ดดสิ สิ ก์ก์
 วิธีเวลาสันสุ
้ ดได้ ก่อน (SSTF) เป็ นวิธีการทำงานที่เป็ นพื ้นฐานแต่มี
ประสิทธิภาพการทำงานดีกว่าวิธีมาก่อนได้ ก่อน (FCFS)
 วิธี SCAN และ C-SCAN เหมาะกับระบบที่มีการเรี ยกใช้ งานกับดิสก์สงู
เพราะไม่เกิดเหตุการณ์ของการคอยเพื่อขอใช้ บริการจากดิสก์
 ลำดับการขอใช้ บริ การของไซลินเดอร์ สามารถกำหนดลำดับของไซลินเด
อร์ ที่เหมาะสมที่สดุ ของการให้ บริการได้ ยกเว้ นวิธีเวลาสันสุ
้ ด (SSTF)
และ SCAN ซึง่ ไม่สามารถคำนวณหาการให้ บริการที่เหมาะที่สดุ ได้

ระบบปฏิบต
ั ก
ิ าร (Operating Systems) 20
การเลื
การเลืออกใช้
กใช้รรู ปู ปแบบของการจั
แบบของการจัดดเวลาการใช้
เวลาการใช้ดดสิ สิ ก์ก์
 วิธีการของการจัดเก็บไฟล์ (file-allocation) เป็ นส่วนหนึง่ ที่มีผลต่อการ
ขอใช้ บริ การจากดิสก์
 การอ่านไฟล์จากที่เก็บที่อยูใ่ กล้ ๆ กันจะมีผลทำให้ การเคลื่อนที่ของหัว
อ่านอยูใ่ นบริ เวณเดียวกัน
 ในกรณีของไฟล์ที่เป็ นไฟล์ดชั นี (indexd file) หรื อไฟล์ที่ลงิ ค์ (linked file)
จะถูกจัดเก็บกระจัดกระจายอยูบ่ นดิสก์ ซึง่ จะทำให้ หวั อ่านต้ องเคลื่อนที่
มากกว่า
 ในกรณีที่ไดเร็ กทอรี ถกู จัดเก็บที่ไซลินเดอร์ ที่ 1 และแฟ้มข้ อมูลถูกจัดเก็บ
ที่ไซลินเดอร์ สดุ ท้ าย การเคลื่อนที่จากไซลินเดอร์ แรกจนถึงไซลินเดอร์
สุดท้ ายซึง่ เท่ากับพื ้นที่ทงหมดของดิ
ั้ สก์
ระบบปฏิบต
ั ก
ิ าร (Operating Systems) 21
การเลื
การเลืออกใช้
กใช้รรู ปู ปแบบของการจั
แบบของการจัดดเวลาการใช้
เวลาการใช้ดดสิ สิ ก์ก์
 รูปแบบของการจัดเวลาการใช้ ดิสก์นนถู ั ้ กออกแบบมาเพื่อลดระยะเวลาของ
เวลาการค้ นหา (seek time)หรื อระยะเวลาที่ใช้ ในการเคลื่อนที่หวั อ่านไปยังไซ
ลินเดอร์ ที่ต้องการ
 การทำงานของดิสก์สมัยใหม่จำเป็ นต้ องคำนึงถึงระยะเวลาที่รอคอยการหมุน
ดิสก์เพื่อหาเซ็กเตอร์ ที่ต้องการให้ ตรงกับหัวอ่าน (latency time)
 ระบบปฏิบตั ิการไม่สามารถจะปรับและเพิ่มประสิทธิภาพของ latency time
ได้ เนื่องจากดิสก์ไม่ได้ แสดงถึงพื ้นที่ทางกายภาพเพื่อแสดงการจัดเก็บทาง
ตรรกวิทยา
 บริ ษัทผู้ผลิตดิสก์ได้ แก้ ปัญหาโดยการสร้ างรูปแบบของการจัดเวลาการใช้ ดิสก์
ทำให้ ประสิทธิภาพของเวลาค้ นหา และเวลารอคอยการหมุนดิสก์ดีขึ ้น

ระบบปฏิบต
ั ก
ิ าร (Operating Systems) 22
RAID
RAID(Redundant
(RedundantArray
ArrayofofIndependent
Independent Disks)
Disks)
 ประสิทธิภาพของหน่วยประมวลผลกลางนันเพิ ้ ่มขึ ้นโดยเฉลี่ยแล้ วทุก 18
เดือน แต่ประสิทธิภาพของดิสก์ไม่ได้ เพิ่มขึ ้นเหมือนกับประสิทธิภาพของ
ซีพียู
 ในปี 1988 Peterson et al ได้ คิดค้ นวิธีการเพิ่มประสิทธิภาพการทำงาน
ของดิสก์โดยการนำเอาดิสก์จำนวน 6 ดิสก์ทำงานด้ วยกัน และได้ ถกู
ดัดแปลงเป็ นวิธีที่นิยมใช้ กนั ทัว่ ไปเรี ยกกว่า RAID (Redundant Array
of Independent Disks)
 แนวความคิดของ RAID คือการนำดิสก์ทงหมดมาบรรจุ ั้ ไว้ ในกล่อง
เดียวกัน และติดตังกล่
้ องดิสก์นี ้ที่เครื่ องเซิร์ฟเวอร์

ระบบปฏิบต
ั ก
ิ าร (Operating Systems) 23
RAID
RAID(Redundant
(RedundantArray
ArrayofofIndependent
Independent Disks)
Disks)
 ตัวควบคุมการทำงานของดิสก์คือ RAID SCSI controller ทำให้ ระบบ
ปฏิบตั ิการมองเห็นดิสก์หลายๆ ตัวที่บรรจุอยุใ่ นกล่องนันเป็
้ นดิสก์ตวั
เดียวที่เรี ยกว่า SLED (Single Large Expensive Disk)
 ข้ อดี ทำให้ ไม่จำเป็ นต้ องเปลี่ยนซอฟต์แวร์ ใหม่ถ้านำ RAID มาใช้ ใน
ระบบ
 ระบบเดิมใช้ ดิสก์ที่เป็ น SCSI

ระบบปฏิบต
ั ก
ิ าร (Operating Systems) 24
ระดั
ระดับบของ
ของ RAID
RAID (RAID
(RAIDLevels)
Levels)
 ข้ อมูลที่บนั ทึกใน RAID นันจะถู้ กบันทึกกระจัดกระจายอยูท่ วั่ ไปใน
RAID ทำให้ สามารถที่จะมีการทำงานเป็ นแบบขนาน
 วิธีการหนึง่ คือการแบ่งดิสก์ออกเป็ นชิ ้นๆ หรื อที่เรี ยกว่า stripping ซึง่ วิธี
นี ้จะมีความเร็ วในการโอนย้ ายข้ อมูลสูงแต่มีความเชื่อถือในการทำงาน
ต่ำ
 วิธีการทำ mirroring หรื อ shadowing เป็ นการทำสำเนาให้ กบั ดิสก์
แต่ละตัว วิธีนี ้จะเสียค่าใช้ จา่ ยสูงเพราะจะต้ องทำสำเนาของข้ อมูลของ
ข้ อมูลทังหมดที
้ ่อยูใ่ นดิสก์

ระบบปฏิบต
ั ก
ิ าร (Operating Systems) 25
ระดั
ระดับบของ
ของ RAID
RAID (RAID
(RAIDLevels)
Levels)
 จุดมุง่ หมายการสร้ างสื่อจัดเก็บที่เหลือเฟื อและเสียค่าใช้ จา่ ยต่ำ โดยใช้
แนวทางความคิดของ Stripping และใช้ วิธีของ parity เข้ าด้ วยกัน
 โดยการแบ่ง RAID ออกเป็ นระดับเรี ยกว่า ระดับของ RAID (RAID
Levels) ซึง่ จะมีระดับทังหมด
้ 6 ระดับ คือ RAID ระดับ 0 ถึง RAID
ระดับ 5

ระบบปฏิบต
ั ก
ิ าร (Operating Systems) 26
 RAID ระดับ 0 : non-redundant stripping
 ดิสก์ที่แบ่งเป็ นชิ ้น (strip) แต่ละชิ ้นมี k เซ็กเตอร์
 ชิ ้น 0 จะมีเซ็กเตอร์ ตงแต่
ั ้ 0 ถึง k-1, ชิ ้น 1 จะมีเซ็กเตอร์ k ถึง 2k-1
 การจัดเก็บข้ อมูลเป็ นบล็อก (block)
 ในตัวอย่างมีดิสก์ 4 ตัว การอ่านข้ อมูลจะอ่านบล็อกข้ อมูล 4 ชิ ้นต่อเนื่อง โดย
คอนโทรลเลอร์ จะแตกคำสัง่ ทำงานแบบขนาน ทำให้ ประหยัดเวลาในการทำงาน
(ในที่นี ้คือ 4 เท่า)
 ข้ อดี คือความสามารถในการถ่ายโอนข้ อมูล และตอบสนองการร้ องขอจากอุปกรณ์
อินพุต/เอาต์พตุ ได้ ปริ มาณมาก ๆ ทำให้ เพิ่มอัตราการประมวลผล
 ข้ อเสีย คือความสิ ้นเปลืองเนื่องจากใช้ ดิสก์หลายตัว และความน่าเชื่อถือของระบบ
เนื่องจาการอ่านบล็อกข้ อมูลต่อเนื่องกัน
ระบบปฏิบต
ั ก
ิ าร (Operating Systems) 27
 RAID ระดับ 1 : mirrored disks
 เป็ นการทำสำเนาให้ กบั ดิสก์ทงหมดั้ (ตัว M หมายถึงตัวสำเนา)
 ในตัวอย่างจะใช้ ดิสก์จริ ง 4 ตัว และดิสก์สำรองอีก 4 ตัว
 การบันทึกข้ อมูลจะบันทึกข้ อมูล 2 ครัง้ คือบันทึกที่ดิสก์จริ ง และที่ดิสก์สำรอง
 การอ่านข้ อมูลจะอ่านจากดิสก์จริ งหรื อดิสก์สำรองก็ได้
 ถ้ าดิสก์จริ งเสียจะนำดิสก์สำรองมาใช้ แทนดิสก์จริ ง
 การแก้ ไขจะเปลี่ยนดิสก์ที่เสียหาย และก็อปปี ข้ ้ อมูลทังหมดมาลงดิ
้ สก์ที่ติดตังใหม่

 ข้ อดี คือระยะเวลาในการอ่านข้ อมูลจะน้ อยลงเนื่องจากใช้ เลือกอ่านจากดิสก์ได้
 ข้ อเสีย คือค่าใช้ จ่ายมากขึ ้นเนื่องจากจำนวนดิสก์ที่ใช้ งานจะเพิ่มขึ ้นอีก 1 เท่าตัว

ระบบปฏิบต
ั ก
ิ าร (Operating Systems) 28
 RAID ระดับ 2 : memory-style error-correcting
 แบ่งดิสก์เป็ นชิ ้น และจัดเก็บข้ อมูลเป็ นบล็อก เกี่ยวข้ องในระดับไบต์ โดยแบ่งข้ อมูล
เป็ นบิต ใช้ วิธี memory-style error-correcting code (ECC)
 ช่วยป้องกันข้ อผิดพลาด โดยจะมีบิตพาร์ ริตี ้ (parity bit) ช่วยในการตรวจสอบข้ อผิด
พลาดในระดับบิต (โดยกำหนดความสัมพันธ์บิตตรวจสอบกับไบต์ข้อมูล)
 การทำงานใน RAID จะแบ่งข้ อมูลแต่ละไบต์ออกเป็ นส่วน ๆ แล้ วจัดเก็บแต่ละดิสก์
 ข้ อมูลบิตที่ 1 ของแต่ละไบต์จดั เก็บลงดิสก์ตวั ที่ 1 ... บิตที่ 2 เก็บลงดิสก์ตวั ที่ 2...
 ดิสก์ที่มี P คือดิสก์ที่ใช้ เก็บ error-correction bit ดิสก์ 4 ตัวจะใช้ ดิสก์แค่ 3 ตัวเป็ น
error-correction
 ถ้ าดิสก์ใดเสีย จะนำบิตที่เหลือจากดิสก์อื่น และ error-correction bit ที่สมั พันธ์มา
ประกอบเป็ นไบต์ที่เหลือให้ กลับเป็ นไบต์ดีเหมือนเดิม
ระบบปฏิบต
ั ก
ิ าร (Operating Systems) 29
 RAID ระดับ 3 : bit-interleaved parity organization
 ปรับปรุงมาจาก RAID ระดับ 2 โดยดิสก์คอนโทรลเลอร์ ตรวจสอบได้ ข้อมูลในเซ็ก
เตอร์ ที่อา่ นนันถู
้ กต้ องหรื อไม่
 ใช้ บิตเดียวทำหน้ าที่เป็ น error-correction bit
 ถ้ าเซ็กเตอร์ ใดเสียจะทราบได้ ทนั ทีพร้ อมกับบิตที่เสีย ว่าเป็ น 0 หรื อ 1 โดยคำนวณ
กับบิตตรวจสอบ ที่สมั พันธ์กบั บิตนันในดิ
้ สก์อื่น
 ค่าของบิตตรวจสอบของบิต = บิตตรวจสอบที่เก็บไว้  บิตที่เสียเป็ น 0
 ค่าของบิตตรวจสอบของบิต <> บิตตรวจสอบที่เก็บไว้  บิตที่เสียเป็ น 1
 ข้ อดี คือประสิทธิภาพดีพอ ๆ กับ RAID ระดับ 2 แต่ใช้ จำนวนดิสก์น้อยกว่า (ในที่นี ้
ดิสก์ 4 ตัวจะใช้ ดิสก์เพื่อตรวจสอบเพียง 1 ตัว) ทำให้ ประหยัดกว่า

ระบบปฏิบต
ั ก
ิ าร (Operating Systems) 30
 RAID ระดับ 4 : block-interleaved parity organization
 แบ่งดิสก์เป็ นชิ ้น เกี่ยวข้ องกับข้ อมูลในลักษณะบล็อก ไม่ได้ เป็ นไบต์เหมือนระดับ 2
และ 3
 มีดิสก์จดั เก็บบล็อกพาร์ ริตี ้ (parity block) ซึง่ เป็ นบล็อกที่สมั พันธ์กบั บล็อกของ
ข้ อมูล
 ข้ อดี คือถ้ าดิสก์ตวั ใดเสียจะนำบล็อกพาร์ ริตี ้ของบล็อกข้ อมูลที่เสียนันไปกู้ ้ คืนบล็อก
ข้ อมูลนันได้

ระบบปฏิบต
ั ก
ิ าร (Operating Systems) 31
 RAID ระดับ 5 : block-interleaved distributed parity
 ต่างกับ RAID ระดับ 4 ในระดับนี ้จะมีการกระจายการจัดเก็บข้ อมูลและพาร์ ริตี ้บน
ดิสก์จำนวน N+1 ตัว โดยใช้ ดิสก์ N ตัวสำหรับการจัดเก็บข้ อมูล และดิสก์อีก 1 ตัว
สำหรับเป็ นดิสก์พาร์ ริตี ้
 ตัวอย่างเช่น มีดิสก์ 5 ตัว พาร์ ริตี ้ของบล็อกที่ n จะถูกจัดเก็บในดิสก์ตวั ที่ (n
mod 5)+1 ซึง่ บล็อกที่ n ของดิสก์อีก 4 ตัวที่เหลือจะใช้ สำหรับเก็บข้ อมูล
 ในรูปจะเห็นว่า P หรื อบล็อกพาร์ ริตี ้จะกระจายไปอยูท่ กุ ดิสก์ ไม่สามารถอยูบ่ นดิสก์
ตัวเดียวกับบล็อกของข้ อมูลที่สมั พันธ์กนั
 ถ้ าดิสก์ตวั นันเสี
้ ยจะทำให้ ทงข้
ั ้ อมูลและพาร์ ริตี ้เสียไปด้ วย ทำให้ ไม่สามารถกู้คืนได้

ระบบปฏิบต
ั ก
ิ าร (Operating Systems) 32
การจั
การจัดดการเนื
การเนือ้ อ้ ทีทีบ่ บ่ นดิ
นดิสสก์ก์ (Disk
(DiskManagement)
Management)
 การฟอร์ แมตดิสก์ (Disk formatting)
 Boot Block
 Bad Blocks

ระบบปฏิบต
ั ก
ิ าร (Operating Systems) 33
การฟอร์
การฟอร์แแมตดิ
มตดิสสก์ก์ (Disk
(Diskformatting)
formatting)
 ดิสก์มีลกั ษณะเป็ นแผ่นเหมือนกระดานชนวนซึง่ ทำมาจากวัสดุประเภท
อลูมิเนียมอัลลอยหรื อแก้ ว โดยมีการเคลือบสารแม่เหล็กไว้ บนผิว
 ก่อนนำดิสก์มาบันทึกข้ อมูลได้ นนจะต้
ั ้ องมีการจัดแบ่งเนื ้อที่บนดิสก์โดย
ใช้ ซอฟต์แวร์ เป็ นตัวจัด เรี ยกกระบวนการนี ้ว่า การฟอร์ แมตระดับต่ำ
(low-level formatting)
 การฟอร์ แมตระดับต่ำ จะทำให้ ดิสก์ถกู แบ่งออกเป็ นแทร็ กและเซ็กเตอร์
ปกติเซ็กเตอร์ จะประกอบไปด้ วย 3 ส่วนคือ
 ส่วนหัว (header)
 ส่วนเก็บข้ อมูล (data area)
 ส่วนท้ าย (trailer)
ระบบปฏิบต
ั ก
ิ าร (Operating Systems) 34
ส่ วนประกอบของดิสก์ เซ็กเตอร์

ระบบปฏิบต
ั ก
ิ าร (Operating Systems) 35
การฟอร์
การฟอร์แแมตดิ
มตดิสสก์ก์ (Disk
(Diskformatting)
formatting)
 ส่วนหัวและส่วนท้ ายของเซ็กเตอร์ จะเก็บข้ อมูลที่เรี ยกใช้ โดยดิสก์
คอนโทรลเลอร์ (disk controller)
 การฟอร์ แมตระดับต่ำจะมีการจัดตำแหน่งของเซ็กเตอร์ 0 ของแต่ละ
แทร็กให้ ขึ ้นอยูก่ บั แทร็กที่อยูก่ ่อนหน้ าแทร็กนัน้
 การจัดตำแหน่งของแทร็ก 0 แบบนี ้จะเรี ยกว่า cylinder skew ซึง่
เป็ นการเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน
 อนุญาตให้ มีการอ่านหลายๆ แทร็กในคราวเดียวกันโดยไม่ทำให้ ข้อมูล
สูญหายระหว่างอ่านข้ อมูล

ระบบปฏิบต
ั ก
ิ าร (Operating Systems) 36
ลักษณะทางกายภาพของดิสก์ ทมี่ กี ารแบ่ งเป็ น 2 ส่ วน

ระบบปฏิบต
ั ก
ิ าร (Operating Systems) 37
สมมติวา่ ต้ องการอ่านข้ อมูล 18 เซ็กเตอร์ โดยเริ่ มอ่านจากเซ็กเตอร์ 0 ที่อยูแ่ ทร็กด้ านใน
สุด การอ่านข้ อมูลจาก 16 เซ็กเตอร์ แรกจะใช้ การหมุนดิสก์รอบเดียว แต่การอ่านข้ อมูล
จากเซ็กเตอร์ ที่ 17 หัวอ่านจะต้ องเลื่อนออกมาแทร็กด้ านนอก 1 แทร็ก แต่เซ็กเตอร์ 0
หรื อเซ็กเตอร์ ที่ 17 ของแทร็กถัดมานันได้
้ หมุนผ่านหัวอ่านไปแล้ ว
ดังนันจึ
้ งจำเป็ นต้ องหมุนดิสก์อีกครัง้ หนึง่ จนกว่าหัวอ่านจะเจอเซ็กเตอร์ 0 อีกครัง้ หนึง่
ปั ญหานี ้สามารถแก้ ได้ โดยการจัดรูปแบบของเซ็กเตอร์ 0 ของแต่ละแทร็กให้ เยื ้องกัน

ระบบปฏิบต
ั ก
ิ าร (Operating Systems) 38
Cylinder skew

ระบบปฏิบต
ั ก
ิ าร (Operating Systems) 39
การฟอร์
การฟอร์แแมตดิ
มตดิสสก์ก์ (Disk
(Diskformatting)
formatting)
 การฟอร์ แมตระดับต่ำจะทำให้ ความจุของดิสก์ลดลง โดยขึ ้นอยูก่ บั
ขนาดของส่วนหัวของเซ็กเตอร์ (head) ช่องว่างระหว่างเซ็กเตอร์ (gap)
ส่วนท้ ายของเซ็กเตอร์ (trailer) และจำนวนของเซ็กเตอร์ สำรอง
 ปกติดิสก์ที่ฟอร์ แมตแล้ วเนื ้อที่จะลดลง 20% จากที่ยงั ไม่ฟอร์ แมต แต่
ไม่นบั เซ็กเตอร์ สำรอง
 ดิสก์ประเภทเดียวกันจะมีเนื ้อที่สำหรับบันทึกข้ อมูลเท่ากัน
 หลังจากการฟอร์ แมตระดับต่ำเรี ยบร้ อยแล้ ว ดิสก์จะถูกแบ่งออกเป็ น
พาร์ ติชนั่ (partition)
 การแบ่งดิสก์เป็ นพาร์ ติชนั่ เป็ นการแบ่งตามหลักตรรกวิทยา

ระบบปฏิบต
ั ก
ิ าร (Operating Systems) 40
การฟอร์
การฟอร์แแมตดิ
มตดิสสก์ก์ (Disk
(Diskformatting)
formatting)
 โดยทัว่ ไปเครื่ องคอมพิวเตอร์ จะใช้ เซ็กเตอร์ 0 สำหรับเก็บ master boot
record ซึง่ จะเก็บข้ อมูลเกี่ยวกับการบูตเครื่ องและตารางของพาร์ ติชนั
 เครื่ องเพนเทียมสามารถที่จะมีพาร์ ติชนั่ ได้ 4 พาร์ ติชนั่
 หลังจากแบ่งพาร์ ติชนั่ แล้ วขันตอนต่
้ อไป เป็ นขันตอนการสร้
้ างไฟล์
ระบบ (file system) ระบบปฏิบตั ิการจะเก็บค่าเริ่มต้ นของไฟล์ไว้ ใน
ดิสก์ ซึง่ เริ่ มต้ นอาจจะเป็ นแผนผังแสดงพื ้นที่วา่ งบนดิสก์ และไดเร็ กทอรี
ว่าง

ระบบปฏิบต
ั ก
ิ าร (Operating Systems) 41
Boot
Boot Block
Block
 การเปิ ดเครื่ องคอมพิวเตอร์ เริ่มทำงาน จำเป็ นต้ องมีโปรแกรมเริ่ มต้ น
เรี ยกว่าโปรแกรม bootstrap
 โดยระบบจะทำการค้ นหาโปรแกรม bootstrap ใน kernel แล้ วทำการ
โหลด kernel มาไว้ ในหน่วยความจำ
 โปรแกรม bootstrap จะถูกเก็บไว้ ในหน่วยความจำแบบ ROM (Read-
Only Memory)
 ROM สามารถอ่านได้ อย่างเดียว ทำให้ ไวรัสไม่สามารถทำลายข้ อมูลได้
 ปั ญหาคือถ้ าต้ องการเปลี่ยนแปลงโค้ ดใน bootstrap จำเป็ นที่จะต้ อง
เปลี่ยน ROM ใหม่

ระบบปฏิบต
ั ก
ิ าร (Operating Systems) 42
Boot
Boot Block
Block
 ระบบส่วนใหญ่ที่เก็บ bootstrap จะเป็ นโปรแกรมเล็กๆ
 หน้ าที่ของโปรแกรมเล็กๆ นี ้คือ ทำหน้ าที่ดงึ bootstrap ซึง่ เป็ น
โปรแกรมทังหมดมาจากดิ
้ สก์
 โปรแกรม bootstrap จะเก็บอยูใ่ นพาร์ ติชนั่ ที่เรี ยกว่า boot block ซึง่
ดิสก์ที่มี boot block เก็บอยูน่ นจะเรี
ั้ ยกว่า boot disk หรื อ system
disk

ระบบปฏิบต
ั ก
ิ าร (Operating Systems) 43
เลย์ เอาต์ ของ MS-DOS
โปรแกรม bootstrap ทีอ่ ยู่ใน ROM จะทำการสั่ งให้ ดสิ ก์ คอนโทรลเลอร์ อ่าน boot block
มาไว้ ในหน่ วยความจำ และเริ่มทำการประมวลผลโปรแกรม

ระบบปฏิบต
ั ก
ิ าร (Operating Systems) 44
Bad
Bad Block
Block
 Bad Sector คือดิสก์ที่เคลื่อนไหวและมีความคงทนต่อการใช้
งานไม่มาก หัวอ่านเคลื่อนที่ไปมาอยูบ่ นพื ้นผิวของดิสก์ ซึง่
ทำให้ เกิดการเสียหายได้
 หรื ออีกนัย เซ็กเตอร์ เสียหมายความว่า ข้ อมูลที่อา่ นมาจากเซ็ก
เตอร์ นนเป็
ั ้ นค่าที่ไม่ตรงกับค่าที่ได้ ทำการบันทึกลงที่เซ็กเตอร์ นนั ้

ระบบปฏิบต
ั ก
ิ าร (Operating Systems) 45
Bad
Bad Block
Block
 ดิสก์อาจจะมีข้อบกพร่องมาจากโรงงานเลยเรี ยกว่า bad blocks ซึง่ จะ
ถูกจัดการได้ 2 วิธีคือ
 คอนโทรลเลอร์ ทำหน้ าที่จด ั การกับพื ้นที่ที่เสีย
 ตัวโปรแกรมระบบทำหน้ าที่จด ั การกับพื ้นที่นนั ้
 วิธีดงเดิ
ั ้ มของการจัดการคือ บริษัทผลิตดิสก์จะทำการทดสอบดิสก์และ
จะบันทึกรายการของ bad sector ลงดิสก์และแต่ละ bad sector ก็จะ
มีเซ็กเตอร์ ที่ใช้ สำรองสำหรับ bad sector นัน้

ระบบปฏิบต
ั ก
ิ าร (Operating Systems) 46
Bad
Bad Block
Block
 วิธีการใช้ เซ็กเตอร์ สำรองแทน bad sector มีอยู่ 2 วิธี คือ
 ดิสก์ที่มีแทร็ กเดียวมี 30 เซ็กเตอร์ และมีเซ็กเตอร์ สำรอง 2 เซ็ก

เตอร์ เซ็กเตอร์ 7 เป็ น bad sector สิง่ ที่คอนโทรลเลอร์ จะจัดการ


กับ bad sector คือ คอลโทรลเลอร์ จะทำการสร้ างเซ็กเตอร์ 7
ขึ ้นมาใหม่บนเซ็กเตอร์ สำรอง
 อีกหนทางคือการทำการเลื่อนเซ็กเตอร์ ทงหมดขึ ั้ ้นไปหนึง่ เซ็ก
เตอร์

ระบบปฏิบต
ั ก
ิ าร (Operating Systems) 47
แทร็กทีม่ ี bad sector

ระบบปฏิบต
ั ก
ิ าร (Operating Systems) 48
มีการเปลีย่ น bad sector กับส่ วนที่สำรอง

ระบบปฏิบต
ั ก
ิ าร (Operating Systems) 49
ขยับข้ าม bad sector

ระบบปฏิบต
ั ก
ิ าร (Operating Systems) 50
การติ
การติดดตัตั้ง้งดิดิสสก์ก์ (Disk
(Disk Attachment)
Attachment)
 การเข้ าถึงข้ อมูลในดิสก์สามารถเข้ าถึงได้ 2 ทางคือ
 ผ่านทางพอร์ ตรับส่งข้ อมูลที่ติดกับเครื่ องคอมพิวเตอร์ (host-

attached storage)
 การเข้ าถึงที่จด ั เก็บระยะไกล ซึง่ เรี ยกว่าการติดตังที
้ ่จดั เก็บใน
เน็ตเวิร์ค (network-attached storage)

ระบบปฏิบต
ั ก
ิ าร (Operating Systems) 51
การติ
การติดดตัตั้ง้งทีทีเ่ เ่ครื
ครื่อ่องคอมพิ
งคอมพิววเตอร์
เตอร์หหลัลักก (host-attached
(host-attachedstorage)
storage)
 แอ็กเซสข้ อมูลได้ โดยผ่านพอร์ ต I/O
 การรับ-ส่งข้ อมูลใช้ กบั เครื่ องคอมพิวเตอร์ พีซีจะเป็ นแบบ IDE หรื อ ATA
 คอมพิวเตอร์ สมรรถนะสูง หรื อเครื่ องเซิร์ฟเวอร์ ใช้ SCSI และ FC
(Fibre Channel)
 SCSI ประกอบด้ วยสื่อนำไฟฟ้ าซึง่ โปรโตคอลของ SCSI สามารถ
สนับสนุนอุปกรณ์ได้ มากถึง 16 ชนิดต่อสายส่ง 1 สาย

ระบบปฏิบต
ั ก
ิ าร (Operating Systems) 52
การติ
การติดดตัตั้ง้งทีทีเ่ เ่ครื
ครื่อ่องคอมพิ
งคอมพิววเตอร์
เตอร์หหลัลักก (host-attached
(host-attachedstorage)
storage)
 ปกติจะต้ องมีตวั คอนโทรลเลอร์ อยูท่ ี่เครื่ องคอมพิวเตอร์ หลักซึง่ เรี ยกว่า
SCSI initiator แล้ วสามารถติดตังที้ ่จดั เก็บได้ มากถึง 15 ตัว ที่จดั เก็บจะ
เรี ยกว่า SCSI targets
 FC มีการทำงาน 2 รู ปแบบคือ

 เป็ นลักษณะพื ้นฐานของการติดตังที ้ ่จดั เก็บในเน็ตเวิร์ค เรี ยกว่า


Storage-Area Network (SANs)
 Arbitrated Loop (FC-AL) สามารถจะมีอป ุ กรณ์ตอ่ พ่วงได้ 126
อุปกรณ์รวมถึงที่จดั เก็บและคอนโทรลเลอร์

ระบบปฏิบต
ั ก
ิ าร (Operating Systems) 53
การติ
การติดดตัตั้ง้งสืสื่ อ่ อจัจัดดเก็เก็บบในเน็
ในเน็ตตเวิเวิรร์ ค์ ค(Network-Attached
(Network-AttachedStorage)
Storage)
 เครื่ องไคลเอ็นต์สามารถใช้ ชดุ คำสัง่ ระยะไกล (RPC : Remote
Procedure Call) เพื่อเรี ยกใช้ ข้อมูลจากที่จดั เก็บในเน็ตเวอร์ คได้
 โปรโตคอลในเน็ตเวิร์คที่ใช้ สำหรับแอ็กเซสข้ อมูลระยะไกล เรี ยกว่า
Network-Attached Storage (NAS)
 NAS เป็ นหนทางหนึง่ ที่อำนวยความสะดวกในการใช้ คอมพิวเตอร์
ระบบ LAN แต่ประสิทธิภาพและการทำงานของ NAS จะมีน้อยกว่า
การติดตังที
้ ่จดั เก็บที่ติดกับเครื่ องโดยตรง

ระบบปฏิบต
ั ก
ิ าร (Operating Systems) 54
การติดตั้งสื่ อจัดเก็บข้ อมูลในเน็ตเวิร์ค

ระบบปฏิบต
ั ก
ิ าร (Operating Systems) 55
ความเชื
ความเชื่อ่อถืถืออได้
ได้ขของสื
องสื่ อ่ อจัจัดดเก็เก็บบข้ข้ออมูมูลล (Stable
(Stable Storage)
Storage)
 เป้าหมายของ stable storage จำเป็ นที่ต้องมีการกำหนดการปฏิบตั ิการ
ของระบบดังนี ้
 Stable writes ประกอบด้ วยการบันทึกข้ อมูลครัง้ แรกบล็อกของ

ดิสก์ตวั ที่ 1 จากนันทำการอ่


้ านข้ อมูลที่ได้ บนั ทึกขันมาเพื
้ ่อทำการ
ตรวจสอบว่าข้ อมูลนันมี ้ การบันทึกที่ถกู ต้ อง ถ้ าข้ อมูลไม่ถกู ต้ อง
จะมีการบันทึกและอ่านอีกครัง้ ซ้ำๆ กัน หลังจากดิสก์ตวั ที่ 1
บันทึกข้ อมูลเสร็จ ข้ อมูลจะบันทึกลงบนบล็อกที่เหมือนกันของ
ดิสก์ตวั ที่ 2 ปฏิบตั ิการซ้ำๆ จนกระทัง่ การบันทึกข้ อมูลน้ำสำเร็ จ

ระบบปฏิบต
ั ก
ิ าร (Operating Systems) 56
ความเชื
ความเชื่อ่อถืถืออได้
ได้ขของสื
องสื่ อ่ อจัจัดดเก็เก็บบข้ข้ออมูมูลล (Stable
(Stable Storage)
Storage)
 Stable read การอ่านครัง้ แรกที่บล็อกแรกของดิสก์ตวั ที่ 1 ถ้ ามีการ
อ่านข้ อมูลผิดพลาดก็จะมีการอ่านข้ อมูลน้ำซ้ำๆ กันเป็ นจำนวน n
ครัง้ ถ้ าอ่านข้ อมูลนันยั
้ งผิดพลาดอีกก็จะย้ ายไปอ่านข้ อมูลจาก
บล็อกที่เหมือนกันบนดิสก์ตวั ที่ 2 แทน นัน่ คือผลมาจาก stable
wirte ที่มีการบันทึกข้ อมูลเดียวกันบนดิสก์ทงั ้ 2 ตัว ทำให้ การอ่าน
นันเป็
้ นการอ่านที่เรี ยกว่า stable read

ระบบปฏิบต
ั ก
ิ าร (Operating Systems) 57
ความเชื
ความเชื่อ่อถืถืออได้
ได้ขของสื
องสื่ อ่ อจัจัดดเก็เก็บบข้ข้ออมูมูลล (Stable
(Stable Storage)
Storage)
 Crash recovery ถ้ าดิสก์เกิดความเสียหาย โปรแกรมสแกนดิสก์
จะทำการเปรี ยบเทียบบล็อกที่เหมือนกันของดิสก์ทงั ้ 2 ตัว ถ้ า
บล็อกของดิสก์ทงั ้ 2 ตัว ไม่มีสงิ่ ผิดปกติก็จะผ่านไป ถ้ าบล็อกของ
ดิสก์ตวั ใดตัวหนึง่ เป็ น bad block จะทำการบันทึกด้ วย good
block ที่มีบล็อกตรงกัน

ระบบปฏิบต
ั ก
ิ าร (Operating Systems) 58
สืสื่ อ่ อจัจัดดเก็เก็บบข้ข้ออมูมูลลประเภทอื
ประเภทอืน่ น่ ๆๆ (Tertiary
(TertiaryStorage)
Storage)
 การจัดเก็บข้ อมูลประเภท tertiary storage คือ
 Removable Magnetic Disks

 เทปแม่เหล็ก (Magnetic Tape)

 เทคโนโลยีของสื่อบันทึกข้ อมูลในอนาคต (Future Technology)

ระบบปฏิบต
ั ก
ิ าร (Operating Systems) 59
Removable
Removable Magnetic
Magnetic Disks
Disks
 Removable Magnetic Disk เป็ นดิสก์ที่บรรจุข้อมูลได้ มากกว่า 1
กิกะไบต์ ความเร็ วเท่ากับฮาร์ ดดิสก์ แต่พื ้นผิวของดิสก์ชนิดนี ้ไม่คงทน
เท่ากับฮาร์ ดดิสก์
 Magneto-Optic Disk ใช้ การบันทึกข้ อมูลบนพื ้นผิวที่เคลือบด้ วยสารแม่
เหล็กเหมือนดิสก์ชนิดอื่น
 หัวอ่านของ magneto-optic disk จะอยูห่ า่ งจากพื ้นผิวของดิสก์
มากกว่าหัวอ่านของดิสก์แม่เหล็กทัว่ ไป
 การอ่านข้ อมูลของ magneto –optic disk เป็ นลักษณะการใช้ เลเซอร์
ส่องไปประกบกับพื ้นผิวของดิสก์

ระบบปฏิบต
ั ก
ิ าร (Operating Systems) 60
Removable
Removable Magnetic
Magnetic Disks
Disks
 ดิสก์ประเภทที่อา่ นได้ อย่างเดียว (read-only disk) เช่น CD-ROM และ
DVD จะมีการบันทึกข้ อมูลล่วงหน้ ามาแล้ วจากบริษัทผู้ผลิต
 ดิสก์แบบเคลื่อนย้ ายได้ จะมีการทำงานช้ ากว่าดิสก์แบบเคลื่อนย้ ายไม่
ได้ ไม่วา่ จะเป็ นกระบวนการบันทึกข้ อมูล seek time หรื อ rotational
latency time จะช้ ากว่าด้ วย

ระบบปฏิบต
ั ก
ิ าร (Operating Systems) 61
เทปแม่
เทปแม่เเหล็
หล็กก (Magnetic
(MagneticTape)
Tape)
 เทปแม่เหล็กเป็ นอุปกรณ์ที่เคลื่อนย้ ายได้ แต่เทปสามารถบันทึกข้ อมูลได้
มากกว่าดิสก์ชนิดต่าง ๆ
 ความเร็ วในการโอนถ่ายข้ อมูลทังของเทปและดิ
้ สก์จะมีความเร็ วเท่า ๆ กัน
 เครื่ องอ่านเทปแม่เหล็กจะมีราคาแพงกว่าเครื่ องขับดิสก์ทว ั่ ไป
 ห้ องเทปขนาดใหญ่จะมีหน ุ่ ยนต์ที่ทำหน้ าที่ใส่เทปหรื อถอดเทปออกจาก
ไดรฟ์ ซึง่ จะทำให้ คอมพิวเตอร์ สามารถเรี ยกใช้ งานเทปที่ต้องการได้ โดย
อัตโนมัติ

ระบบปฏิบต
ั ก
ิ าร (Operating Systems) 62
เทคโนโลยี
เทคโนโลยีขของสื
องสื่ อ่ อบับันนทึทึกกข้ข้ออมูมูลลในอนาคต
ในอนาคต(Future
(FutureTechnology)
Technology)
 Holographic Storage เป็ นสื่อบันทึกข้ อมูลในอนาคต ใช้ แสดงเลเซอร์
เป็ นตัวบันทึกข้ อมูลในลักษณะในรูปภาพแบบ Holographic
 การทำงาน รูปสีขาวดำที่มีลกั ษณะเป็ นภาพ 2 มิติ แต่ละจุดบนภาพนัน้
จะแทน 1 บิต สีดำมีคา่ เป็ น 0 สีขาวมีคา่ เป็ น 1 ความคมชัดสูงยิ่งมี
จำนวนบิตของข้ อมูลเป็ นล้ านๆ บิต
 อัตราการแปลงข้ อมูลจะมีความเร็วสูงมาก
 Micro Electronic Mechanical Systems (MEMS) เป็ นสื่อบันทึกที่
กำลังค้ นคว้ าและพัฒนาขึ ้น
 การทำงานจะใช้ ชดุ หัวอ่านดิสก์ขนาดเล็กจำนวน 10,000 หัวอ่าน
ระบบปฏิบต
ั ก
ิ าร (Operating Systems) 63

Вам также может понравиться